190 likes | 511 Views
การบริหารการพยาบาล. สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล. ทีม การประสานบริการกับหน่วยงานอื่น ผู้นำทางการพยาบาล ( หัวหน้างานทุกระดับ ) การบริหารบุคลากรทางการพยาบาล การจัดอัตรากำลัง ปัญหาการวิเคราะห์ภาระงานปริมาณงาน
E N D
การบริหารการพยาบาล สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล
ทีม การประสานบริการกับหน่วยงานอื่น ผู้นำทางการพยาบาล ( หัวหน้างานทุกระดับ ) การบริหารบุคลากรทางการพยาบาล การจัดอัตรากำลัง ปัญหาการวิเคราะห์ภาระงานปริมาณงาน การพัฒนาบุคลากร (ยึดวิเคราะห์ การหาส่วนขาดสัมพันธ์กับปัญหาที่เกิดขึ้น การประเมินผลงาน ) การสร้างขวัญกำลังใจ การสร้างทีมงาน การให้ความผาสุข ปัจจัยความสำเร็จการบริหารองค์กรพยาบาล
เป้าหมายมาตรฐาน มีระบบบริหารการพยาบาลรับผิดชอบต่อการจัดบริการที่มีคุณภาพสูงเพื่อ บรรลุพันธกิจขององค์กร
เป้าหมายกระบวนการ : บุคลากรมีความรู้ ทักษะในเชิงวิชาชีพ และจำนวนเหมาะสมกับภาระงาน ผู้ป่วยมีความปลอดภัย ดูแลตนเองได้
NUR 1 เป้าหมายวัตถุประสงค์ NUR 2 การจัดองค์กรและการบริหาร NUR 3 การจัดการทรัพยากรบุคคล NUR 4 การพัฒนาทรัพยากรบุคคล NUR 5 นโยบายวิธีปฏิบัติ NUR 6 ระบบงานการบริหารการพยาบาล NUR 7 กิจกรรมการพัฒนาคุณภาพ องค์ประกอบของมาตรฐาน เป้าหมายแต่ละองค์ประกอบต้องการอะไร
NUR 1 เป้าหมายวัตถุประสงค์ ( ลายลักษณ์อักษร สื่อสารสู่การปฏิบัติเน้นความเข้าใจ) NUR 2 การจัดองค์กรและการบริหาร ( เอื้อต่อการบรรลุพันธกิจ) NUR 3 การจัดการทรัพยากรบุคคล ( บริการได้ตามพันธกิจ คุณภาพ ประสิทธิภาพ ) NUR 4 การพัฒนาทรัพยากรบุคคล( ปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมี คุณภาพ ประสิทธิภาพ ) NUR 5 นโยบายวิธีปฏิบัติ ( เจ้าหน้าที่ยึดถือปฏิบัติเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ NSO) NUR 6 ระบบงานการบริหารการพยาบาล( มีการบริหารที่มีประสิทธิภาพตามมาตรฐานตอบสนองความต้องการผู้ป่วย) NUR 7 กิจกรรมการพัฒนาคุณภาพ (ประเมินผลการพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาล ทำงานเป็นทีมพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ) เป้าหมายในแต่ละ องค์ประกอบของมาตรฐาน
ความคาดหวังในการเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่การรับรองจาก NUR 1 – NUR 7
1.เป้าหมาย วัตถุประสงค์ เครื่องชี้วัด ครอบคลุม a ประสิทธิภาพ การบริหาร b ความรู้ความสามารถทักษะเชิงวิชาชีพ c คุณภาพการพยาบาล บริการที่มีคุณภาพพัฒนาศัยภาพบุคลากรทุกระดับ กระบวนการพยาบาลสู่การปฏิบัติ การพัฒนาบุคลากร 2. แผนยุทธศาสตร์ / แผนการพัฒนาขององค์กรพยาบาล ( สอดคล้องบริบท นำส่วนขาดจากการวิเคราะห์ NUR1- NUR 7 นำปัญหาคุณภาพบริการ ประเด็น ความปลอดภัย ความเสี่ยง การสร้างเสริมสุขภาพ มากำหนดเป็นแผนการพัฒนา เพื่อการบรรลุเป้าหมายองค์กร ) Reทบทวนข้อ 1 และ 2อย่างต่อเนื่อง เมื่อบริบทเปลี่ยนไป มุ่งสู่เป้าหมายองค์กร เกิด นวตกรรมเชิงการบริหาร เปรียบเทียบกับองค์กรอื่นๆ เพื่อพัฒนาระบบบริหาร ประเด็นที่ให้ความสำคัญ 9 ประเด็นหลัก
3 บริหารอัตรากำลัง ( หน่วยงานเสี่ยงสูง บริหารรูปแบบ ตั้งรับ ตอบสนองพันธกิจองค์กร เชิงรุก สร้างหลักประกันว่าผู้ป่วยมีความปลอดภัยตลอดเวลา บริหารสารสนเทศรายวัน คนมีความรู้ความสามารถในแต่ละสาขา ) 4.การนิเทศ ควบคุมกำกับการปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพ ประเมินผลการปฎิบัติงาน ประเด็นการนิเทศชัดเจน เน้นคลินิก บริหาร มีการควบคุมกำกับให้ความช่วยเหลือขณะปฏิบัติงาน จัดระบบงานช่วยให้ปฏิบัติงานที่ปลอดภัย การประเมินเน้นทักษะเชิงวิชาชีพ 10 ประการ ทักษะเฉพาะแต่ละงาน เชื่อมโยงกับผลลัพธ์การดูแลผู้ป่วย Feed Back นำมาพัฒนาศักยภาพ 5 ความรู้ความสามารถผู้นำทางการพยาบาล วางระบบการเตรียมความพร้อมผู้นำทุกระดับ ผู้นำสามารถกระตุ้นผลักดัน เพื่อบรรลุเป้าหมายสามารถนำหลักคิด มาปรับปรุงระบบบริหาร
6 การพัฒนาบุคลากร ( แผนการพัฒนา นำข้อมูลจากข้อ 4 มาร่วมกำหนดแผน ครอบคลุม ผู้นำ ผู้ปฏิบัติงาน เนื้อหา เทคนิคทั่วไป ทักษะเชิงวิชาชีพ การพัฒนาคุณภาพความปลอดภัย ผู้นำ ) สมดุล พัฒนาตามส่วนขาด และความต้องการ ( CNE ความก้าวหน้าในการงาน ) การประเมินผล เน้นผลกระทบการดูแลผู้ป่วย ผลงานรายบุคคลหน่วยงาน นำผลการประเมินไปปรับปรุงแผน การพัมนาคนมีส่วนสำคัญต่อการบรรลุความสำเร็จตามเป้าหมายขององค์กรพยาบาล
7. การปฏิบัติการพยาบาล โดยนำกระบวนการพยาบาลสู่การปฏิบัติ เชื่อมกับการดูแลกลุ่มผู้ป่วย( คำนึงถึงสิทธิ ใช้ข้อมูลวิชาการ สภาวะผู้ป่วย ) ติดตามประเมินผลมาปรับปรุงการปฏิบัติการพยาบาล การสร้างเสริมสุขภาพในกลุ่มผู้ป่วย กลุ่มเจ้าหน้าที่ (Holistic Empowerment Lifestyle Prevention ) การดูแลที่สอดคล้องภาวะสุขภาพวิถีชีวิตบริบททางสังคม กิจกรรมการพัฒนาคุณภาพ ( ประเมินตนเองภายใน ( ทบทวน KPI QA (ยา IC ) ประเมินคุณภาพการพยาบาล( ทบทวนเวชระเบียน ) การาจัดการความรู้ ศักษาวิจัย การบริหารความเสี่ยง คุณภาพความปลอดภัย ) นำผลการประเมินมาใช้ประโยชน์ ปรับปรุงระบบงานร่วมกับสหสาขา และ กระบวนการบริหารการพยาบาล
II – 2.1 การกำกับดูแลวิชาชีพ ด้านการพยาบาล (Nursing) Overall Req. มีระบบบริหารการพยาบาลรับผิดชอบต่อการจัดบริการพยาบาลที่มีคุณภาพสูงเพื่อบรรลุพันธกิจขององค์กร ประสานความร่วมมือระดับองค์กร การใช้ยา, การควบคุมการติดเชื้อ การสร้างเสริมสุขภาพ คุณภาพและความปลอดภัย 1 ผู้นำทีมการพยาบาล ก. การบริหารการพยาบาล 4 บุคลากร ความรู้ความสามารถ ปริมาณ 2 ข. ปฏิบัติการพยาบาล 3 โครงสร้างและกลไก กำกับดูแลมาตรฐาน/จริยธรรม นิเทศ/กำกับดูแล ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพ ส่งเสริมการใช้กระบวนการพยาบาล ส่งเสริมการตัดสินใจทางคลินิก ดูแลผู้อยู่ระหว่างฝึกอบรม จัดการความรู้และวิจัย สิทธิผู้ป่วย จริยธรรมวิชาชีพ 2 ผลลัพธ์ของ ปฏิบัติการพยาบาล ความปลอดภัย บรรเทาทุกข์ทรมาน ข้อมูลและการเรียนรู้ การดูแลตนเอง การเสริมพลัง ความพึงพอใจ มาตรฐาน/ ข้อมูลวิชาการ 3 1 กระบวนการ พยาบาล สภาวะสุขภาพ ของผู้ป่วย 4 บันทึก 5 ปรับปรุง Risk/Safety/Quality Management 6 5 ประเมิน
a.ประสิทธิภาพการบริหาร( อัตรากำลัง การนิเทศ เน้นการใช้ผลนิเทศเพื่อความปลอดภัย กำกับการปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพ การประเมินผลการปฏิบัติงาน ส่งเสริมการใช้กระบวนการพยาบาล การสร้างเสริมสุขภาพ ความผาสุก การควบคุม) b.ความรู้/ความสามารถ ทักษะเชิงวิชาชีพ การพัฒนาศักยภาพผู้นำทุกระดับ ผู้ปฏิบัติงานประจำการ บุคลากรมาปฏิบัติงานใหม่ ส่งเสริมความเชี่ยวชาญเฉพาะทาง ส่งเสริมการตัดสินใจทางคลินิก (ทักษะเชิงวิชาชีพ )
c. คุณภาพการพยาบาล 1.1 การนำกระบวนการพยาบาลสู่การปฏิบัติ เชื่อมกับการดูแลกลุ่มผู้ป่วย ติดตามประเมินผลมาปรับปรุงการปฏิบัติการพยาบาล 1.2 การบริหารความเสี่ยง เน้นกลุ่มผู้ป่วย คุณภาพการพยาบาล 1.3 การประกันคุณภาพ เน้นกลุ่มผู้ป่วย คุณภาพการพยาบาล 1.4 ความเป็นองค์รวม/การสร้างเสริมสุขภาพในกลุ่มผู้ป่วย (Holistic Empowerment Lifestyle Prevention ) การดูแลที่สอดคล้องภาวะสุขภาพวิถีชีวิตบริบททางสังคม 1.5 การประเมินตนเอง ( ประเมินคุณภาพการพยาบาลภายใน ) 1.6 การใช้ความรู้ทางวิชาการการจัดการความรู้ วิจัย 1.7 การบันทึกเวชระเบียน 1.8 การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ 1.9 การใช้ยา