300 likes | 712 Views
บรรยายพิเศษ การบริหารโดยใช้หลัก ธรรมาภิ บาล. โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน. การบริหารงานแบบราชการ (BUREACRACY). 1. จัดระบบบริหารโดยใช้กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ นโยบาย 2. ปฏิบัติงานตามลำดับชั้นจากสูงสุด → ต่ำสุด 3. ยึดหลัก เ อกสาร เป็นสำคัญ / หลักฐาน
E N D
บรรยายพิเศษการบริหารโดยใช้หลักธรรมาภิบาลบรรยายพิเศษการบริหารโดยใช้หลักธรรมาภิบาล โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
การบริหารงานแบบราชการ (BUREACRACY) 1. จัดระบบบริหารโดยใช้กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ นโยบาย 2. ปฏิบัติงานตามลำดับชั้นจากสูงสุด → ต่ำสุด 3. ยึดหลัก เอกสาร เป็นสำคัญ / หลักฐาน 4. ยึดถือ เวลา ปฏิบัติงานเต็มเวลา 5. มีความมั่นคงในการทำงาน (ทฤษฎีการบริหารของ MAX WEBER ชาวเยอรมัน)
การบริหาร 1. การใช้คนตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป เพื่อให้ทำงานให้สำเร็จตามที่ต้องการ 2. การบริหารเป็นทั้ง ศาสตร์ และ ศิลป์
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการบริหารทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการบริหาร 1. ทฤษฎีภาวะผู้นำ - คุณลักษณะผู้นำ - พฤติกรรมที่มุ่งงาน / มุ่งความสัมพันธ์ - ผู้นำตามสถานการ (เฮอร์ชี / บลังชาร์ด) - X และ Y (แมดเกรเกอร์) 2. ทฤษฎีมนุษยสัมพันธ์ และแรงจูงใจ - ความต้องการ 5 ขั้น (มาสโลว์) - เสริมแรง (สกินเนอร์) - ต่างตอบแทน (แชปแมน) 3. ทฤษฎีองค์กร - ระบบราชการ (แมกซ์เวเบอร์) - POSDCORB (กูลิค / เออร์วิค)
การบริหารโดยใช้หลักธรรมาภิบาล (GOOD GOVERNANCE) (หลักการบริหารกิจการบ้านเมือง และสังคมที่ดี) 1. หลักนิติธรรม 2. หลักคุณธรรม 3. หลักความโปร่งใส 4. หลักการมีส่วนร่วม 5. หลักความรับผิดชอบ 6. หลักความคุ้มค่า (ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการสร้างระบบบริหารกิจการ บ้านเมืองและสังคมที่ดี พ.ศ. 2542)
หลักนิติธรรม 1. ปฏิบัติต่อประชาชนอย่างเสมอภาค 2. ให้ความเป็นธรรมแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา 3. บริหารโดยใช้กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ อย่างถูกต้อง และเหมาะสม 4. บริหารโดยใช้หลักนิติศาสตร์และรัฐศาสตร์อย่างสมดุลย์
คุณธรรม 1. ระบบคุณธรรม (MERIT SYSTEM) 1.1 ความสามารถ 1.2 ความเสมอภาค 1.3 ความมั่นคง 1.4 ความเป็นกลางทางการเมือง 2. คุณธรรมพื้นฐาน 8 ประการของกระทรวงศึกษาธิการ 2.1 ขยัน 2.5 สุภาพ 2.2 ประหยัด 2.6 สะอาด 2.3 ซื่อสัตย์ 2.7 สามัคคี 2.4 มีวินัย 2.8 มีน้ำใจ
หลักความโปร่งใส 1. สุจริต ไม่ “ทุจริต” 1.1 ลดความเสี่ยง 1.2 มาตรการป้องกัน 1.3 มาตรการปราบปราม / ลงโทษ 2. เปิดเผย 2.1 พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 2.2 ระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. 2544 3. ตรวจสอบได้ 3.1 หลักฐาน / เอกสารสำคัญ 3.2 การจัดเก็บหลักฐาน / เอกสารสำคัญ
“ทุจริต (CORRUPTION)” สิ่งที่สังคมประณามและผิดกฎหมาย ทำลายตนเอง ทำลายองค์กร ทำลายประเทศชาติ
การทุจริตภาครัฐผลการติดตามของ ป.ป.ช. ปีงบประมาณ 2545-31 มี.ค. 2550(มติชน 27 สิงหาคม 2550)
การทุจริตระดับโลก ผู้นำประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกทุจริต ปีละประมาณ 52 ล้านล้านบาท (1.6 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ) ข้าราชการประเทศกำลังพัฒนาทุจริต ปีละประมาณ 1.5 ล้านล้านบาท (4 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ) สนธิสัญญาว่าด้วยการปราบปรามการทุจริตทั่วโลกแห่งสหประชาชาติ (8 ธ.ค.48) โครงการทวงคืนทรัพย์สินที่ถูกขโมยโย UN ร่วมกับ World Bank (แหล่งข้อมูล : คมชัดลึก 19 ก.ย.50)
นโยบายของรัฐการป้องกันการทุจริตนโยบายของรัฐการป้องกันการทุจริต 1. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการสร้างระบบบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี พ.ศ. 2542 2. วาระแห่งชาติ ด้านจริยธรรม ธรรมาภิบาล และการป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบในภาครัฐ (ประกาศเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2549) 3. ให้หน่วยราชการจัดตั้ง “ศูนย์ประสานและส่งเสริมราชการใสสะอาด” (มติ ค.ร.ม. 26 มิ.ย. 43 และ 5 ต.ค. 47)
ราชการใสสะอาด : กศน. ใสสะอาด 1. ศูนย์ประสานราชการใสสะอาด สำนักงาน กศน. 2. ศูนย์ประสานราชการใสสะอาด กศน.ภาค. 3. ศูนย์เครือข่ายราชการใสสะอาด กศน.จังหวัด
พัฒนา/เสริมสร้าง ราชการใสสะอาด หลักการ ผลลัพธ์ ผลกระทบ กรอบความคิดราชการใสสะอาด ศูนย์ประสานราชการใสสะอาด สำนักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน หลัก คุณธรรม จริยธรรม บุคลากร กศน. ปัจจัยเกื้อหนุน ประชาชนได้รับบริการดี กศน. ใสสะอาด หลัก ธรรมาภิบาล หลัก เศรษฐกิจพอเพียง
ความเชื่อพื้นฐาน ทุกคนเกิดมา ปรารถนาที่จะทำในสิ่งที่ดี แต่ ... ปัจจัยแวดล้อม / ความจำเป็น / ความไม่รู้ ทำให้คนบางคนทำในสิ่งที่ไม่ดี “ทุจริต และประพฤติมิชอบ”
แนวคิดเรื่องการทุจริตแนวคิดเรื่องการทุจริต 1. ทฤษฎีความน่าจะเป็นที่ทำให้เกิดการทุจริต Pf = D X O X M Pf คือ ความน่าจะเป็นที่เกิดการทุจริต มีค่า 0-1 D คือ Dishonesty factor มีค่า 0-1 O คือ Opportunity Factor มีค่า 0-1 M คือ Motive factor มีค่า 0-1 (แนวคิดของคลอสส์ และแมคกาฮาน)
2. ทฤษฎีอาชญากรรมคอปกขาว ทัศนะเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ 3 สาเหตุ แรงจูงใจ (Motivation) วัฒนธรรมการแข่งขัน (The culture of competition) ระบบโครงสร้างของโอกาส (The structure of opportunity) (แนวคิดของ Jame Coleman)
การศึกษาเรื่อง ยุทธศาสตร์การสร้างราชการใสสะอาด ศึกษากรณี การป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ ในสำนักบริหารงาน กศน. ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนที่ 3 - แบบสำรวจ - แบบสอบถาม - ประเด็นสนทนากลุ่ม - เก็บข้อมูลที่กลุ่มวินัย - ถาม - จัด Focus Group และนิติการ - ผู้ทรงคุณวุฒิ 16 คน ผู้บริหารสถานศึกษา 79 คน ประธานนักศึกษา 79 คน สภาพปัญหา สาเหตุแนวทาง การป้องกัน ยุทธศาสตร์ราชการ ใสสะอาด กศน.
ผลการศึกษาสภาพการทุจริต และประพฤติมิชอบ ระหว่าง 2547 – 2549 ตารางที่ 1 ค่าความถี่และค่าร้อยละของบุคลากรที่ถูกร้องเรียนเกี่ยวกับการทุจริตและประพฤติมิชอบระหว่างปี พ.ศ. 2547 – 2549
ตารางที่ 2 ค่าความถี่และค่าร้อยละของบุคลากรที่ถูกร้องเรียน และถูกดำเนินการทางวินัยเกี่ยวกับการทุจริตและ ประพฤติมิชอบ ระหว่างปี พ.ศ. 2547 - 2549
ตารางที่ 6 ค่าความถี่และค่าร้อยละของบุคลากรที่ถูกร้องเรียนและถูกดำเนินการทาง วินัยเกี่ยวกับการทุจริตและประพฤติมิชอบ แยกตามประเด็นความผิดและ ปีที่กระทำความผิดระหว่างปี พ.ศ. 2547 – 2549
สาเหตุสำคัญ 8 ประการ 1. การบริหารงานที่ไม่ยึดหลักธรรมาภิบาล 2. การขาดจิตสำนึกในความซื่อสัตย์สุจริต 3. การมีปัญหาด้านการเงิน 4. ผู้บริหารปฏิบัติงานที่เดิมนานเกิด 4 ปี 5. การดื่มสุรามากเกินควรอยู่เสมอ
สาเหตุสำคัญ 8 ประการ (ต่อ) 6. การขาดความรู้ความเข้าใจเรื่องวินัยและการ รักษาวินัยข้าราชการ 7. การขาดการควบคุมดูแลหรือกำกับติดตามที่ดี 8. การที่สถานศึกษามีรายจ่ายที่ไม่สามารถเบิก เงินงบประมาณได้จำนวนมาก
หลักการมีส่วนร่วม 1. ร่วมรับรู้ 2. ร่วมคิด / เสนอความเห็น 3. ร่วมวางแผน / ตัดสินใจ 4. ร่วมปฏิบัติ 5. ร่วมรับผิดที่เกิดขึ้น 6. ร่วมติดตามประเมินผล
หลักความรับผิดชอบ 1. รับผิดชอบต่อตนเอง 2. รับผิดชอบต่อครอบครัว 3. รับผิดชอบต่อหน้าที่ 4. รับผิดชอบต่อสังคม
หลักความคุ้มค่า“ใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ”หลักความคุ้มค่า“ใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ” 1. คน 2. เงิน 3. วัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ 4. เวลา