1 / 66

แนวทางการแก้ไขความยากจน ในพื้นที่ลุ่มน้ำน่านตอนบน มูลนิธิแม่ฟ้าหลวง

โครงการปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ. แนวทางการแก้ไขความยากจน ในพื้นที่ลุ่มน้ำน่านตอนบน มูลนิธิแม่ฟ้าหลวง. 1. “ หลักการทรงงาน ของในหลวง ฯ ” พระราชดำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. คำนึงถึงภูมิสังคม.

Download Presentation

แนวทางการแก้ไขความยากจน ในพื้นที่ลุ่มน้ำน่านตอนบน มูลนิธิแม่ฟ้าหลวง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ แนวทางการแก้ไขความยากจน ในพื้นที่ลุ่มน้ำน่านตอนบน มูลนิธิแม่ฟ้าหลวง 1

  2. “หลักการทรงงาน ของในหลวงฯ ” พระราชดำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว คำนึงถึงภูมิสังคม “...การพัฒนาจะต้องเป็นไปตามภูมิประเทศทางภูมิศาสตร์และภูมิประเทศทางสังคมศาสตร์...คือ นิสัยใจคอของคนเรา จะไปบังคับให้คนคิดอย่างอื่นไม่ได้...ไปดูว่าเขาต้องการอะไรจริงๆ แล้วก็อธิบายให้เขาเข้าใจหลักการ...” 2

  3. พื้นที่การปกครอง/ประชากรพื้นที่การปกครอง/ประชากร 6 อำเภอ 32 ตำบล 5 เทศบาล 343 หมู่บ้าน 183,841 คน ลุ่มน้ำน่านตอนบน สัญลักษณ์ ขอบเขตลุ่มน้ำ แม่น้ำ 4

  4. การแก้ความยากจนที่ยั่งยืน อย่างบูรณาการ สิ่งแวดล้อม พัฒนาแหล่งน้ำ ป่าอนุรักษ์ ที่ทำกิน คน เศรษฐกิจ สังคม ป่าเศรษฐกิจ ป่าใช้สอย ฟื้นฟูสภาพดิน 5

  5. ระดับการแก้ไขความยากจนระดับการแก้ไขความยากจน • รอด(Survive) • พอเพียง( Sufficient) • ยั่งยืน(Sustainable)

  6. รอด(Survive) ชุมชนร่วมกันจัดการ ชีวิต เศรษฐกิจ หนี้สิน ดิน น้ำ ป่า ข้าว ปลา อาหาร การออม การผลิต บริโภค การลงทุน สุขภาพ สิ่งแวดล้อม ปํญหาไม่ใช้เงิน เพราะหาได้ จึงมีหนี้สิน ปัญหาอยู่ที่ไม่รู้จะไปทางไหน จะแก้ไขอย่างไร ปัญหาชุมชนไม่ได้จนเงิน หรือจนทรัพยากร แต่จนข้อมูล จนความรู้ จนปัญญา

  7. ความยั่งยืน พัฒนา เข้าถึง เรียนรู้เพื่อ พัฒนาศักยภาพชุมชน เข้าใจ สื่อสารและ สร้างการมีส่วนร่วม - สร้างทีมพี่เลี้ยง (วิทยากร โครงการ อปท. มหาวิทยาลัย) - ออกแบบหลักสูตรและเมนูการพัฒนา - ชุมชนศึกษาดูงาน / แลกเปลี่ยนเรียนรู้ / ฝึกปฏิบัติ - ทีมพี่เลี้ยงให้คำแนะนำในชุมชน - ติดตามและประเมินผล ชุมชน คือ เจ้าของ ข้อมูลพื้นฐาน - สื่อสารสร้างความเข้าใจ และความมั่นใจกับชุมชน - ร่วมกันวิเคราะห์ปัญหาและ ความต้องการของชุมชน - ให้ชุมชนมีส่วนร่วมใน กระบวนการพัฒนามากที่สุด - ศึกษาข้อมูลทุกมิติของ ชุมชน/ค้นหารากของปัญหา - รวบรวมองค์ความรู้โครงการ พระราชดำริทั่วประเทศ ช่วยเขา ให้เขาช่วยตัวเองได้ การเปลี่ยนแปลงต้องใช้เวลา และต้องมีการจัดการ

  8. แนวคิดการแก้จน ก เก็บกิน เก็บเกี่ยว ขุด ข ค คิด ค้น คว้า งาน ง จ จริงจัง จัด จด จ่าย จ้าง เจ้า

  9. เข้าถึง 1 ) สำรวจข้อมูลพื้นที่ ข้อมูลสภาพเศรษฐกิจสังคม อย่างมีส่วนร่วม 1.1. สำรวจข้อมูลพื้นที่อยู่อาศัย ที่ทำกิน เขตป่า 1.2. สำรวจแหล่งน้ำ 1.3. สำรวจพันธุ์ไม้ป่า 1.4. สำรวจข้อมูลประชากร 1.5. สำรวจข้อมูลสภาพทางเศรษฐกิจ 1.6. ความต้องการของชุมชน 2) การจัดทำแผนการพัฒนาในชุมชน 3) ขั้นตอนการนำเสนอแผนพัฒนาชุมชน

  10. 1600 ม. 300 ม. บ้านยอด ตำบลยอด อำเภอสองแคว น้ำยอด จ. พะเยา สปป. ลาว บ้านน้ำป้าก ตำบลตาลชุม อำเภอท่าวังผา จ. ลำปาง น้ำสบสาย ตำแหน่งหมู่บ้าน จ. อุตรดิตถ์

  11. สร้างทีมงาน จากลูกหลาน คนน่าน ชาวบ้านในหมู่บ้าน

  12. เรียนรู้ร่วมกัน กับทีมดอยตุง

  13. 1.1พื้นที่อยู่ อาศัย บ้านยอด นายใจ คนตรง บ้านเลขที่ 3 หมู่ที่ 2 นายเดือน เกิดสุข บ้านเลขที่ 7 หมู่ที่ 2 น.ส.อรัญญา รักษา บ้านเลขที่ 47 หมู่ที่ 2 95 หลังคาเรือน 114 ครอบครัว

  14. 1.1 พื้นที่ทำกิน

  15. จัดทำแผนที่ ที่อยู่อาศัย ที่ทำกิน เขตป่าใช้สอย ป่าอนุรักษ์ บ้านน้ำป้าก ลุ่มน้ำย่อยสบสาย บ้านน้ำป้าก

  16. ตัวอย่างแผนที่

  17. ลักษณะการใช้พื้นที่

  18. เปรียบเทียบพื้นที่การใช้ประโยชน์(%)เปรียบเทียบพื้นที่การใช้ประโยชน์(%) 36.4 31.9 % พื้นที่ เฉลี่ยต่อคน 8.1 3.6 7.5

  19. 1.2. สำรวจแหล่งน้ำ ฝายการเกษตร

  20. งานตรวจสอบฝาย เพื่อการเกษตร ฝายที่ชำรุดในเขตหมู่บ้านน้ำป้าก จำนวน 20 ฝาย สามารถใช้งานได้ 2 ฝาย

  21. น้ำตกห้วยป่าเปต

  22. 22 กรกฎาคม 2552 กระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน

  23. 1.3 สำรวจสภาพป่า

  24. บ้านยอด อยู่ในหมู่บ้าน 340 คน • บ้านน้ำป้าก 228 คน 1.4ข้อมูลประชากร ที่มา:จากการสำรวจข้อมูล ของทีมปฏิบัติงานภาคสนามโครงการปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ จ.น่าน

  25. 1.5. สำรวจข้อมูลสภาพทางเศรษฐกิจ ตารางสรุปรายได้ รายจ่าย และหนี้สิน ที่มา:จากการสำรวจข้อมูล ของทีมปฏิบัติงานภาคสนามโครงการปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ จ.น่าน

  26. รายจ่ายของประชากรบ้านน้ำป้ากรายจ่ายของประชากรบ้านน้ำป้าก

  27. ตารางแสดงหนี้สินบ้านยอด ต.ยอด อำเภอสองแคว รายได้บ้านยอด ที่มา:จากการสำรวจข้อมูล ของทีมปฏิบัติงานภาคสนาม โครงการปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ จ.น่าน

  28. ตารางแสดงหนี้สินบ้านน้ำป้าก ตำบลตาลชุม อำเภอท่าวังผา รายได้บ้านน้ำป้าก ที่มา:จากการสำรวจข้อมูล ของทีมปฏิบัติงานภาคสนาม โครงการปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ จ.น่าน

  29. 1.6. ความต้องการของชุมชน การระดมคิดเห็นสิ่งที่จะทำต่อไปและสิ่งที่อยากให้เกิดขึ้น

  30. การระดมความคิดผ่านสายธารแห่งกาลเวลา 28 กรกฎาคม 2552

  31. ตรวจสอบความถูกต้อง สอบถามความเข้าใจ

  32. เข้าถึง 2) การจัดทำแผนการพัฒนาในชุมชน พัฒนาอย่างไร โดยอะไร และชาวบ้านได้อะไร

  33. “หลักการทรงงาน ของในหลวงฯ”พระราชดำรัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พออยู่พอกิน “การจัดทำโครงการใดๆ ก็ตาม ประการแรก จะต้องคำนึงถึงการพัฒนาที่ทำกิน สำหรับคนงานในโครงการ ตลอดจนราษฎรในบริเวณนั้นให้เพียงพอเสียก่อน…” 35

  34. “...การพัฒนาที่ทำกินของราษฎรให้มีความอุดมขึ้น โดยการพัฒนาที่ดิน พัฒนาแหล่งน้ำ ตลอดจนฟื้นฟูสภาพป่า และใช้หลักวิชาการเกษตร ในการวางแผนการเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์...” พระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 8 สิงหาคม 2522 36

  35. ตำบลขุนน่าน พื้นที่ต้นน้ำน่าน

  36. โดยการขุดนา 1.มีข้าวพอกิน เท่าไร ?

  37. ครอบครัวบริโภคข้าว 1,825 กก. ต่อ ปี

  38. ต้องมีพื้นที่ปลูกข้าว 4 ไร่ ต่อ ครอบครัว ( ที่ผลผลิต 70 ถัง ต่อ ไร่ ) บ้านน้ำป้าก 272 ไร่ บ้านยอด 392 ไร่

  39. ปลูกข้าว และเลี้ยงสัตว์ เป็ด ไก่ ปลูกผักสวนครัว ไว้บริโภค เพื่อ ลดค่าใช้จ่าย เพิ่มรายได้

  40. 1.ปลูกข้าวให้พอกิน โดยการขุดนา

  41. 2.น้ำ โดยฝายอนุรักษ์ 888เข้าพื้นที่ ฝายอุปโภคและบริโภค

  42. ฝายการเกษตร 888ประชุม 46

  43. อ่างตำบลขุนน่าน โครงการพระราชดำริฯ โดย อ่างเก็บน้ำขนาดเล็ก ตามเนินเขา อ่างพวง

  44. 3การพัฒนา ให้ชุมชนพึ่งพาตนเอง ไก่และไข่ไก่เพื่อการบริโภค ถังเก็บน้ำเพื่อใช้ในหมู่บ้าน มูลไก่ให้ปลากิน ข้าว ข้าวโพด ถั่วเหลืองและ ถั่วเขียว เพื่อการเกษตร อาหารปลาและไก่ เป็ด รายได้เข้าหมู่บ้าน ศูนย์การเรียนรู้เรื่องแพะ สุกร เมล็ด ตลาด ธนาคารเมล็ดพันธ์พืช ผลผลิตมูลค่าเพิ่ม ธนาคารสัตว์ โรงสีข้าว ผลผลิตพลอยได้ อาหารสัตว์ โรงผลิตอาหารสัตว์

  45. โดยเพิ่มผลผลิต

More Related