330 likes | 638 Views
มุมมองการอุดมศึกษาไทย. ก้าวไกลสู่ AEC. ดร. สุนีย์ จุไรสินธุ์ ผู้อำนวยการ กลุ่มบริหารนโยบายการเปิดเสรีอุดมศึกษา สำนัก ยุทธศาสตร์อุดมศึกษาต่างประเทศ สำนักงาน คณะกรรมการการ อุดมศึกษา. ประเด็นในการนำเสนอ อะไรจะเปลี่ยนไปใน AEC: ผลกระทบต่อการอุดมศึกษาไทย บทบาทของอุดมศึกษาไทยในอาเซียน
E N D
มุมมองการอุดมศึกษาไทยมุมมองการอุดมศึกษาไทย ก้าวไกลสู่ AEC ดร.สุนีย์ จุไรสินธุ์ ผู้อำนวยการกลุ่มบริหารนโยบายการเปิดเสรีอุดมศึกษา สำนักยุทธศาสตร์อุดมศึกษาต่างประเทศ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
ประเด็นในการนำเสนอ • อะไรจะเปลี่ยนไปใน AEC: ผลกระทบต่อการอุดมศึกษาไทย • บทบาทของอุดมศึกษาไทยในอาเซียน • ความร่วมมือด้านอุดมศึกษา • ยุทธศาสตร์อุดมศึกษาไทย • ความพร้อมอุดมศึกษาไทย • ข้อกังวลต่างๆต่ออุดมศึกษาไทย
อะไรจะเปลี่ยนไปในAEC? One Vision, One Identity, One community
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community:AEC ) 1. เป็นตลาดและฐานการผลิตร่วม 2. สร้างเสริมขีดความสามารถแข่งขัน เคลื่อนย้ายสินค้าเสรี e-ASEAN(พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์) นโยบายภาษี เคลื่อนย้ายบริการอย่างเสรี นโยบายการแข่งขัน ไปลงทุนได้อย่างเสรี สิทธิทรัพย์สินทางปัญญา แรงงานมีฝีมือไปทำงานได้อย่างเสรี การคุ้มครองผู้บริโภค เงินทุนเคลื่อนย้ายได้อย่างเสรีมากขึ้น พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค 4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก ลดช่องว่างการพัฒนา ระหว่างสมาชิกเก่า-ใหม่ ปรับประสานโยบายเศรษฐกิจ สร้างเครือข่ายการผลิต จำหน่าย สนับสนุนการพัฒนา SMEs จัดทำ FTA กับประเทศนอกอาเซียน
แผนงานใน AEC Blueprint เคลื่อนย้ายบริการเสรี เปิดเสรีการค้าบริการ เพิ่มสัดส่วนการถือหุ้นให้กับนักลงทุนสัญชาติอาเซียน ปี2549 (2006) ปี2551 (2008) ปี2553 (2010) ปี2556 (2013) ปี2558 (2015) สาขา PIS 49% 51% 70% เทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) สุขภาพ/ท่องเที่ยว/การบิน โลจิสติกส์ 49% 51% 70% สาขาอื่นๆ รวมการศึกษา 30% 49% 51% 70%
แผนงานใน AEC Blueprint เคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรี เคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรี มาตรการหนึ่งก้าวสู่ AEC เปิดเสรีตลาดแรงงานวิชาชีพ การเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรี การเปิดเสรีตลาดแรงงานวิชาชีพ ( 7 วิชาชีพ + 1 ภาคบริการ) สาขาการแพทย์ สาขาทันตแพทย์ สาขาพยาบาล สาขาวิศวกรรม สาขาสถาปัตยกรรม สาขานักบัญชี เปิดตลาดอย่างไม่มีเงื่อนไข ขจัดอุปสรรคทางการค้า ปฏิบัติต่อสมาชิกอย่างเท่าเทียม อำนวยความสะดวก ให้บริการวิชาชีพข้ามพรมแดน สาขานักสำรวจ บริการการท่องเที่ยว(32 ตำแหน่ง) จัดสรรทรัพยากรมนุษย์ในภูมิภาคให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
สิ่งที่จะเกิดใน AECและผลดีที่จะได้ นำเข้าวัตถุดิบ สินค้ากึ่งสำเร็จรูปจากแหล่งผลิตใน AECที่มีความได้เปรียบด้าน ราคา/ คุณภาพ ภาษีนำเข้าเป็นศูนย์ อุปสรรคนอกเหนือภาษีหมดไป ตลาดใหญ่ขึ้น:economy of scale ตลาด 10 ประเทศรวมเป็นหนึ่ง สามารถย้ายฐานผลิตไปยังประเทศที่ เหมาะเป็นแหล่งผลิต การลงทุนในอาเซียนทำได้โดยเสรี ใช้ CLMVเป็นฐานการส่งออกไปนอก AEC เพื่อใช้ประโยชน์จากสถานะ Least Developed Countries: LDCs เป็นฐานการผลิตร่วม ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558
สิ่งที่จะเกิดใน AECและผลดีที่จะได้ ความร่วมมือด้านการอำนวยความสะดวกด้านการค้า ระบบโลจิสติกส์ในภูมิภาคสะดวกและถูกลง ฐานธุรกิจอยู่ที่ใดก็ได้ในอาเซียนแก้ไขปัญหา ขาดแคลนแรงงานฝีมือ ทำธุรกิจบริการได้โดยเสรี มีความได้เปรียบทางภาษีนำเข้ากว่าคู่แข็งอื่นนอกอาเซียน FTAอาเซียนกับคู่ค้าต่างๆ ASEAN+1,+3,+6 ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558
CHALLENGES: REGIONAL CONTEXT Free flow of workforce Free flow of education Mutual recognition of academic & Profession qualifications Cross-border education Need for international- Standard H.E.
บทบาทของการศึกษาในอาเซียนบทบาทของการศึกษาในอาเซียน บทบาทของการศึกษาตามปฏิญญาชะอำ หัวหิน เสาการเมืองและความมั่นคง -สร้างความเข้าใจและความตระหนักกฎบัตรอาเซียนผ่านหลักสูตรอาเซียน ศึกษาและแปลเป็นภาษาต่างๆในอาเซียน -เน้นหลักประชาธิปไตย เคารพสิทธิมนุษยชน และสันติภาพในหลักสูตรโรงเรียน -สนับสนุนให้เกิดความเข้าใจและความตระหนักในความหลากหลายในอาเซียน -จัดให้มีการประชุมร่วมของผู้บริหาร/ผู้นำโรงเรียน เสาเศรษฐกิจ -พัฒนาทักษะฝีมือภายในประเทศ -พัฒนาระบบข้อมูลด้านการศึกษาเพื่อแลกเปลี่ยนในอาเซียน -สนับสนุนการเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือในอาเซียน -พัฒนามาตรฐานด้านอาชีพ -ผลักดันให้มีการพัฒนาทักษะร่วมกันของอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษา เสาสังคมและวัฒนธรรม -พัฒนาเนื้อหาร่วมอาเซียน-จัดทำหลักสูตรศิลปะและวัฒนธรรมของอาเซียน -เสนอเนื้อหาในอาเซียนให้เป็นวิชาเลือก-ส่งเสริมโครงการระดับภูมิภาค -สนับสนุนการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพในชุมชน-ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต -จัดให้มีการประชุมวิจัยด้านการศึกษาของอาเซียน-จัดกิจกรรมวันอาเซียน -ส่งเสริมความเข้าใจระหว่างกันและความตระหนักด้านสิ่งแวดล้อมร่วมกัน
การศึกษาในอาเซียน:ความร่วมมือด้านอุดมศึกษาการศึกษาในอาเซียน:ความร่วมมือด้านอุดมศึกษา •การแลกเปลี่ยนทางวิชาการ(ทุนศึกษาระยะสั้น-ระยะยาว ระดับป.โท-เอก) •การแลกเปลี่ยนเชิงวัฒนธรรม(ASEAN Youth Cultural Forum/AUN Education Forum and Young Speakers Contests) •การจัดอบรม(Training Series on QualityAssurance) •การร่วมวางระบบและเครื่องมือด้านการอุดมศึกษา (AUN Quality Assurance/ ASEANCredit Transfer System) •การพัฒนาหลักสูตร(ASEAN Studies Programme) •การจัดประชุมและสัมมนาวิชาการแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็น(AUN Rectors’Meeting/ ASEAN-ChinaRectors’ Conference) AUN •กระบวนการบูรณาการการอุดมศึกษาในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ - การพัฒนาระบบถ่ายโอนหน่วยกิจของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (SEA Credit Transfer System) - การจัดตั้งเครือข่ายของหน่วยงานการประกันคุณภาพการศึกษาของภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ - การประชุมผู้บริหารระดับสูงที่รับผิดชอบเรื่องการอุดมศึกษาของประเทศต่างๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ - การศึกษาวิจัยเรื่องระบบการประกันคุณภาพอุดมศึกษาของประทศต่างๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ • การบริหารจัดการและการกำกับนโยบายการศึกษา - การประชุมปฏิบัติการระดับภูมิภาคเรื่องการปฏิรูปโครงสร้างสถาบันอุดมศึกษาใน ภูมิภาคเอเชีย - การศึกษาดูงานในด้านการกำกับนโยบายมหาวิทยาลัย ณ สถาบันอุดมศึกษาชั้นนำ ระดับโลก SEAMEO RIHED
THAILAND POSITIONING Challenge in driving Thailand toward Education Hub Internationalisation of Higher Education Increased mobility of academics and students Education experience in International environment Cross-cultural communication
สถาบันอุดมศึกษาเตรียมพร้อมสถาบันอุดมศึกษาเตรียมพร้อม ผู้กำลังเข้าสู่ตลาดแรงงาน ผู้อยู่ในตลาดแรงงาน-วิชาชีพ นิสิต นักศึกษา + หลักสูตร +ภาษา วัฒนธรรม + กฏระเบียบข้อบังคับของบริการในอาเซียน
ความพร้อมของอุดมศึกษาไทยความพร้อมของอุดมศึกษาไทย บทบาทภาคอุดมศึกษา • การเจรจาเปิดเสรีการค้าบริการ ด้านการศึกษา • การเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน • การทำMutual Recognition Arrangement (MRA) •การพัฒนาระบบการโอนหน่วยกิต และการประกันคุณภาพในภูมิภาค ระดับ ภูมิภาค ระดับ ประเทศ ระดับ สถาบัน ระดับ กระทรวง • การพัฒนาหลักสูตรให้มีความ เป็นสากล • การพัฒนาบุคลากร • ศักยภาพการวิจัยและการสร้าง องค์ความรู้ • การพัฒนาสิ่งอำนวยความสะดวก • มาตรฐานอุดมศึกษา • การส่งเสริมการเคลื่อนย้าย นักศึกษา อาจารย์/นักวิจัย • การแลกเปลี่ยนการเยือน
FRAMEWORK OF THE SECOND15-YEAR LONG RANGE PLAN ON H.E.(2008-2022) Preparation of higher education sector to cope with ASEAN Community Go with the flow and watchful of free & open trade’s impact Measures • Study of international rules and regulations •Analysis of impact and benefits for Thai higher education •Set up of university performance assessment system •Capacity building of Thai higher education •Promotion of closer collaboration with ASEAN countries
THAILAND PRACTICE: CATERGORISATION OF HEIs Research and Graduate universities Four-year Universities and Liberal arts colleges Teaching Research Providing academic services Community colleges Specialised Universities and Comprehensive universities Preserving and Promotion Of arts & culture Each subsystem would serve national priorities and strategies as well as addressing global, national,regional and local demands
OPPORTUNITY International Employability ASEAN Integration Students,Faculty,Researchers Mobility and Mutual Recognitions Of Degrees and Qualification
ยุทธศาสตร์อุดมศึกษาไทยในการเตรียมความพร้อมสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในปี พ.ศ. 2558 ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเพิ่มขีดความสามารถของบัณฑิตให้มีคุณภาพมาตรฐานในระดับสากล ยุทธศาสตร์ที่2 การพัฒนาความเข้มแข็งของสถาบันอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาประชาคมอาเซียน ยุทธศาสตร์ที่ 3 การส่งเสริมบทบาทของอุดมศึกษาไทยในประชาคมอาเซียน ยุทธศาสตร์ที่ 4การเพิ่มขีดความสามารถของบัณฑิตให้มีคุณภาพมาตรฐานในระดับสากล กลยุทธ์ 1. พัฒนาสมรรถนะด้านการใช้ภาษาอังกฤษของนักศึกษาไทยในระดับที่ใช้ในการทำงานได้ 2. พัฒนาสมรรถนะด้านการประกอบวิชาชีพและการทำงานข้ามวัฒนธรรมของบัณฑิตไทย
มาตรการที่ควรพิจารณาดำเนินการมาตรการที่ควรพิจารณาดำเนินการ 1. ส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาอังกฤษและระบบวัดผลการเรียนการสอนภาษาอังกฤษที่มี ประสิทธิภาพ ตั้งแต่การศึกษาระดับพื้นฐานไปจนถึงระดับอุดมศึกษา 2. ส่งเสริมการผลิตและพัฒนาอาจารย์ด้านการสอนภาษาอังกฤษ รวมทั้งภาษาของประเทศสมาชิกอาเซียนทั้งในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา 3. ส่งเสริมการเรียนการสอนของภาษาต่างประเทศสมาชิกอาเซียนและความรู้เกี่ยวกับอาเซียนตั้งแต่ระดับพื้นฐานไปจนถึงระดับอุดมศึกษา และการวิจัยด้านอาเซียนศึกษาในสถาบัน อุดมศึกษา รวมทั้งการพัฒนาสื่อสารการเรียนการสอน 4. ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนนักศึกษาโดยสนับสนุนการถ่ายโอนหน่วยกิจระหว่างสถาบันอุดมศึกษาของไทยกับประเทศสมาชิกอาเซียนอย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ 5. ส่งเสริมการจัดกิจกรรมและเปิดโลกทัศน์และเปิดโอกาสให้นักศึกษาไทยได้แสดงความสามารถในเวทีระดับนานาชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งระดับอาเซียนรวมถึงกิจกรรมที่สร้างความตระหนักในการเป็นพลเมืองอาเซียน
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาความเข้มแข็งของสถาบันอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาประชาคมอาเซียน กลยุทธ์ 1. พัฒนาอาจารย์ให้มีสมรรถนะสากล 2. ส่งเสริมการสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมเกี่ยวข้องกับอาเซียนใน สถาบันอุดมศึกษา 3. พัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนให้มีคุณภาพระดับสากล 4. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานให้มีคุณภาพระดับสากล 5. พัฒนาวิชาการและการวิจัยสู่ความเป็นเลิศ 6. พัฒนาระบบอุดมศึกษาแห่งอาเซียน
มาตรการที่ควรพิจารณาการดำเนินการมาตรการที่ควรพิจารณาการดำเนินการ 1. ส่งเสริมให้สัดส่วนอาจารย์ระดับป.เอกให้สูงขึ้น รวมทั้งสนับสนุนให้อาจารย์ผลิตผลงานทางวิชาการเพื่อเลื่อนตำแหน่งทางวิชาการโดยเฉพาะในระดับศาสตราจารย์ 2. สร้างเครือข่ายด้านการวิจัยระหว่างศูนย์ความเป็นเลิศของส.อุดมศึกษาไทยกับส.อุดมศึกษาในประเทศและในอาเซียนในสาขาที่สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาประเทศและทิศทางของอาเซียน 3. สนับสนุนทุนวิจัยระดับป.เอกทุนพัฒนาอาจารย์ และทุนสนับสนุนเพื่อผลิตงานวิจัยและเผยแพร่ผลงาวิจัย 4. ส่งเสริมให้มีการเผยแพร่งานวิจัยของนักวิชาการไทยและอาเซียน 5. ส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตรนานาชาติในสาขาที่ประเทศไทยมีความเชี่ยวชาญและเป็นที่ต้องการของตลาดงานในอาเซียน 6. ส่งเสริมให้สถาบันอุดมศึกษาจัดหลักสูตรการเรียนการสอนเป็นสองภาษาเช่น ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เป็นต้น 7. ส่งเสริม/สนับสนุน/จัดสรรงบประมาณให้อาจารย์ชาวต่างประเทศที่มีความรู้ความสามารถและความชำนาญสูง มาสอน บรรยาย และถ่ายทอด องค์ความรู้ให้แก่อุดมศึกษาไทยและ/หรือทำวิจัยในส.อุดมศึกษาเพื่อยกระดับคุณภาพมาตรฐานการอุดมศึกษาไทย
มาตรการที่ควรพิจารณาการดำเนินการ (ต่อ) 8. ส่งเสริมกิจกรรมความร่วมมือทางวิชาการระหว่างส.อุดมศึกษาของไทยและส.อุดมศึกษาในอาเซียนเพื่อยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถาบัน 9. ส่งเสริมให้ส.อุดมศึกษาพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและสิ่งอำนวยความสะดวกในด้านต่างๆ 10. ส่งเสริมให้ส.อุดมศึกษาพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน สิ่งอำนวยความสะดวกและสภาพแวดล้อมที่มีความเป็นนานาชาติทั้งทั้งในกิจกรรมการเรียนการสอนและกิจกรรมนอกหลักสูตร กิจกรรมทางการตลาดและการประชาสัมพันธ์ 11. ส่งเสริมการสร้างความกลมกลืน (Harmonization) ของการอุดมศึกษาในอาเซียน โดยเฉพาะในด้านคุณภาพและคุณวุฒิทางการศึกษาผ่านกลไกความร่วมมือระดับอุดมศึกษาที่มีอยู่ เช่น SEAMEO RIHED , AUN เป็นต้น
ยุทธศาสตร์ที่3 การส่งเสริมบทบาทของอุดมศึกษาไทยในประชาคมอาเซียน กลยุทธ์ 1. ส่งเสริมบทบาทความเป็นผู้นำของส.อุดมศึกษาไทยที่เกี่ยวข้องกับสามเสาหลักในการสร้างประชาคมอาเซียน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเสาด้านประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 2. สร้างความตระหนักในการรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียนและบทบาทของอุดมศึกษาไทยในการพัฒนาประชาคมอาเซียนทั้งในด้านบวกและลบ 3. ส่งเสริมให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการศึกษาในกลุ่มประเทศเพื่อนบ้าน 4. พัฒนาศูนย์ข้อมูลเกี่ยวกับสถาบันอุดมศึกษาในอาเซียน มาตรการที่ควรพิจารณาดำเนินการ 1. ประชาสัมพันธ์ข้อมูลเกี่ยวกับกระบวนการดำเนินงานสู่การรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียนและความเคลื่อนไหวในการเจรจาเปิดเสรีการค้าบริการด้านการศึกษาในอาเซียนและระหว่างอาเซียนกับประเทศคู่เจรจาแก่ส.อุดมศึกษาและผู้เกี่ยวข้องอย่างต่อเนื่อง 2. ส่งเสริมการสร้างความตระหนักในเรื่องเอกลักษณ์ของไทยและประเทศสมาชิกอาเซียน รวมทั้งส่งเสริมกิจกรรมสัมพันธ์ในหมู่ประชาชน ประชาคมอุดมศึกษา และเยาวชนอาเซียน
มาตรการที่ควรพิจารณาดำเนินการ(ต่อ)มาตรการที่ควรพิจารณาดำเนินการ(ต่อ) 3. ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างส.การศึกษากับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการเตรียมการเพื่อใช้ประโยชน์และป้องกันผลกระทบที่เกิดจากการเคลื่อนย้ายกำลังคนข้ามชาติ เช่น การระบาดของโรค ยาเสพติด และอาชญากรข้ามชาติเป็นต้น 4. จัดทำMapping ส.อุดมศึกษาแกนหลักในสาขาที่มีความเชี่ยวชาญและเป็นความต้องการของเขตพื้นที่เศรษฐกิจต่างๆโดยเชื่อมโยงระหว่างส.อุดมศึกษาไทยที่มีความเชี่ยวชาญและตอบสนองต่อการพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจต่างๆกับส.อุดมศึกษาในอาเซียน 5.ส่งเสริมให้อาจารย์ในส.อุดมศึกษาไทยไปสอน/วิจัย/ให้บริการวิชาการ/ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมแก่ส.อุดมศึกษาในอาเซียน
WEF เสนอรายงานผลการศึกษาความสามารถในการแข่งขันโลก (Global Competitiveness Report 2013-2014) ชี้คุณภาพการศึกษาทั้งระบบของไทยอยู่ระดับรั้งท้ายหลายประเทศในภูมิภาค“คุณภาพต่ำอย่างผิดปกติ” ที่มา: คำแถลงจาก ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ (อดีตเลขาธิการอาเซียน) เรื่องปัญหาการศึกษาไทยกับการด้อยขีดความสามารถในการ แข่งขันระดับโลก
จุดที่ต้องพิจารณา เพิ่มผลิตภาพด้านการศึกษา เพิ่มทักษะที่สูงของแรงงาน • ภาษา • ปรับการทำงานให้เข้ากับมาตรฐานสากล
ศตวรรษที่ 21 เศรษฐกิจโลก เคลื่อนย้ายมายังกลุ่มประเทศตลาดเกิดใหม่ – จีน อินเดีย รัสเซีย บราซิล ประเทศที่อยู่บนแผ่นดินใหญ่ระหว่างจีนกับอินเดีย จะได้เปรียบ คืออาเซียน ปัญหาสำคัญ สไตล์คนไทย การเตรียมความพร้อมบัณฑิตรองรับภาคอุตสาหกรรม ภาษา การทำงานเป็นTeam/ ข้ามวัฒนธรรม โครงสร้างประชากรสูงอายุ บทบาทภาควิชาการกับวิชาชีพยังไม่สอดคล้องกัน
ภาพอนาคต: ความพร้อมของอุดมศึกษาไทย กิจกรรมสนับสนุนการเป็นประชาคมอาเซียน
โครงการจัดตั้งฐานข้อมูลดัชนีการอ้างอิงวารสารสำหรับประเทศในกลุ่มอาเซียน (ASEAN Citation Index: ACI)ประสานงานโดยศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (Thai-Journal Citation Index Center: TCI)มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
TIMESปี 2013 มจธ. 55 มหิดล 61 จุฬา 82 Thailand’s World Class University Initiativeโครงการขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยไทยสู่มหาวิทยาลัยโลก แนวทางการขับเคลื่อน: • จัดอันดับทางวิชาการ • ขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมไทย
ตัวชี้วัด -World Class university- ตามตัวชี้วัดจากฐานข้อมูลสากลที่รวบรวมได้ เช่น การตีพิมพ์ผลงานวิจัย - การเชื่อมโยงกับภาคอุตสาหกรรมและภาคธุรกิจ
โครงการกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา สาขาวิชาต่างๆเพื่อพัฒนาไปสู่หลักสูตรสากล • การเปิดภาคการศึกษาให้สอดคล้องกับประเทศ สมาชิกอาเซียน
Soure: ASEAN Secretariat (www.aseansec.org) ASEAN University Network (www.aun-sec.org) SEAMEO RIHED (www.rihed.seameo.org) Office of the Higher Education Commission (www.mua.go.th) (inter.mua.go.th) www.dtn.go.th www.mfa.go.th Terima Kasih Kop Jai (Brunei, (Laos) Indonesia, Malaysia, Salamat po Singapore) (Philippines) Jae zu tin bar Cam On Tae (Viet Nam) (Myanmar) Kop Khun Or kun (Thailand) (Cambodia)