1.68k likes | 2.27k Views
จรรยาบรรณวิศวกร. แผ่นจารึกข้อบังคับของฮัมมูราบี. หากบ้านที่อยู่อาศัยพังทลายลงมาจนทำให้เจ้าของบ้านเสียชีวิต ผู้สร้างบ้านหลังนั้นจะต้องถูกลงโทษโดยการประหารชีวิตด้วย. หากทำให้ลูกชายเจ้าของบ้านเสียชีวิต ลูกชายผู้สร้างบ้านหลังนั้นจะต้องถูกลงโทษโดยการประหารชีวิตเช่นกัน.
E N D
แผ่นจารึกข้อบังคับของฮัมมูราบีแผ่นจารึกข้อบังคับของฮัมมูราบี หากบ้านที่อยู่อาศัยพังทลายลงมาจนทำให้เจ้าของบ้านเสียชีวิต ผู้สร้างบ้านหลังนั้นจะต้องถูกลงโทษโดยการประหารชีวิตด้วย หากทำให้ลูกชายเจ้าของบ้านเสียชีวิต ลูกชายผู้สร้างบ้านหลังนั้นจะต้องถูกลงโทษโดยการประหารชีวิตเช่นกัน
แผ่นจารึกข้อบังคับของฮัมมูราบีแผ่นจารึกข้อบังคับของฮัมมูราบี หากทำให้ทาสเจ้าของบ้านเสียชีวิต ผู้สร้างบ้านหลังนั้นจะต้องชดใช้ทาสให้เจ้าของบ้าน หากทำให้ข้าวของเสียหาย ผู้สร้างบ้านจะต้องชดใช้ข้าวของที่เสียหายทั้งหมด
ความหมายของจรรยาบรรณ ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 “จรรยาบรรณ”หมายถึง ประมวลความประพฤติที่ผู้ประกอบอาชีพการงานแต่ละอย่างกำหนดขึ้น เพื่อรักษาและส่งเสริม เกียรติคุณ ชื่อเสียง และฐานะของสมาชิก อาจเขียนเป็นลายลักษณ์อักษรหรือไม่ก็ได้
จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพวิศวกรรมจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพวิศวกรรม หมายถึง ข้อบังคับที่สภาวิศวกรกำหนดขึ้น เพื่อให้ผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมต้องปฏิบัติตาม โดยยึดหลักคุณธรรมเป็นหลักสำคัญ
B A C จรรยาบรรณ D E ที่มาของจรรยาบรรณ กฎหมาย จารีตประเพณี ศีลธรรม ศาสนา บรรทัดฐานทางสังคม
ความสำคัญของจรรยาบรรณความสำคัญของจรรยาบรรณ • เป็นแนวทางให้ผู้ประกอบวิชาชีพยึดถือปฏิบัติอย่างถูกต้องเหมาะสม • เพื่อให้วิชาชีพได้รับการยอมรับ และความเชื่อมั่นจากสังคม • เพื่อผดุงเกียรติศักดิ์และศักดิ์ศรีแห่งวิชาชีพ
สรุปจำนวนสมาชิกสภาวิศวกร ณ วันที่ 31 กรกฎาคม 2552
เรื่องร้องเรียนกล่าวโทษที่สภาวิศวกรได้วินิจฉัยชี้ขาดแล้วเรื่องร้องเรียนกล่าวโทษที่สภาวิศวกรได้วินิจฉัยชี้ขาดแล้ว จำนวนสมาชิกสภาวิศวกร = 123,986 คน เปอร์เซนต์เรื่องร้องเรียนกล่าวโทษ ที่สภาวิศวกรได้วินิจฉัยชี้ขาดแล้ว=0.193 สรุปได้ว่า น้อยมาก แสดงว่าวิศวกรส่วนมากรักเกียรติและศักดิ์ศรีดีเยี่ยม และไม่กระทำการใดๆ ผิดจรรยาบรรณ แต่ด้วยความห่วงใยของสภาวิศวกร เพื่อให้วิศวกรที่ดี รักษาความดีไว้ สภาวิศวกรจึงได้จัดบรรยายเรื่องจรรยาบรรณขึ้นเพื่อคุ้มครองวิศวกรและแสดงตัวอย่าง กรณีศึกษา ที่เกิดขึ้นและได้วินิจฉัยโทษแล้ว เพื่อทราบโดยทั่วกัน
วิธีพิจารณาและวินิจฉัยจรรยาบรรณวิธีพิจารณาและวินิจฉัยจรรยาบรรณ ระเบียบสภาวิศวกร ว่าด้วยวิธีพิจารณาและวินิจฉัยจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพวิศวกรรม พ.ศ. 2546
แผนผังแสดงขั้นตอนการดำเนินคดีจรรยาบรรณแผนผังแสดงขั้นตอนการดำเนินคดีจรรยาบรรณ เลขาธิการสภาวิศวกรส่งเรื่องสู่คณะกรรมการจรรยาบรรณ 1 2 3 หนังสือร้องเรียน คณะกรรมการจรรยาบรรณ • บุคคลซึ่งได้รับความเสียหาย / บุคคลซึ่งพบเห็นการประพฤติผิดจรรยาบรรณ (สิทธิกล่าวหา) • กรรมการหรือบุคคลอื่น (สิทธิกล่าวโทษ) • ส่งเรื่องเข้าสู่คณะอนุกรรมการกลั่นกรองเรื่องร้องเรียนเพื่อแสวงหาพยานหลักฐานเพิ่มเติม • แต่งตั้งคณะอนุกรรมการไต่สวนเพื่อแสวงหาข้อเท็จจริง และทำความเห็นเสนอเพื่อพิจารณาวินิจฉัย 4 มีคำวินิจฉัยชี้ขาด และแจ้งผลการพิจารณาถึงผู้ที่เกี่ยวข้อง
อายุความในการกล่าวหาหรือกล่าวโทษอายุความในการกล่าวหาหรือกล่าวโทษ พระราชบัญญัติวิศวกร พ.ศ. 2542 มาตรา 51 อายุความ 1 ปี นับแต่ นับแต่รู้เรื่องการประพฤติผิดจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ นับแต่รู้ตัวผู้ประพฤติผิด และ
คำวินิจฉัยของคณะกรรมการจรรยาบรรณคำวินิจฉัยของคณะกรรมการจรรยาบรรณ พระราชบัญญัติวิศวกร พ.ศ. 2542 มาตรา 61 1. ยกข้อกล่าวหา การพิจารณา และ วินิจฉัยชี้ขาด 2. ตักเตือน 3. ภาคทัณฑ์ 4. พักใช้ใบอนุญาตฯ ไม่เกิน 5 ปี 5. เพิกถอนใบอนุญาตฯ
สิทธิของผู้ถูกกล่าวหาสิทธิของผู้ถูกกล่าวหา 1 2 3 สิทธิที่ได้รับแจ้ง ข้อกล่าวหา การทำคำชี้แจงและนำพยานหลักฐานนำส่งต่อคณะกรรมการจรรยาบรรณ สิทธิมีทนายความและ ที่ปรึกษา สิทธิได้รับคำแนะนำและได้รับแจ้งสิทธิหน้าที่ในกระบวนพิจารณา
สิทธิของผู้ถูกกล่าวหา... (ต่อ) 4 5 6 สิทธิได้รับการพิจารณาโดยเร็ว สิทธิได้รับทราบเหตุผลของคำวินิจฉัยชี้ขาดของคณะกรรมการจรรยาบรรณ สิทธิในการอุทธรณ์หรือโต้แย้งคำวินิจฉัยชี้ขาดของคณะกรรมการจรรยาบรรณ
การอุทธรณ์คำวินิจฉัยชี้ขาดของคณะกรรมการจรรยาบรรณการอุทธรณ์คำวินิจฉัยชี้ขาดของคณะกรรมการจรรยาบรรณ 90 วันนับแต่วันที่ได้รับแจ้ง 30 วันนับแต่วันที่ได้รับแจ้ง ศาลปกครอง คณะกรรมการสภาวิศวกร คำวินิจฉัยชี้ขาดของคณะกรรมการจรรยาบรรณ
ศึกษารายละเอียดทั้งหมดได้จากหนังสือเล่มนี้ศึกษารายละเอียดทั้งหมดได้จากหนังสือเล่มนี้
ถือใบประกอบวิชาชีพด้วยถือใบประกอบวิชาชีพด้วย อบรมความพร้อมแล้วนะ พร้อมลุยแล้ว
อาคารด้านหลังที่ยังคงสภาพอยู่อาคารด้านหลังที่ยังคงสภาพอยู่ อาคารด้านหน้าที่วิบัติเสียหาย ด้านหน้าอาคาร
ข้อบังคับนี้เรียกว่า “ ข้อบังคับสภาวิศวกรว่าด้วยจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพวิศวกรรม และการประพฤติผิดจรรยาบรรณอันจะนำมาซึ่งความเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์แห่งวิชาชีพ พ.ศ. 2543
3 ให้กำหนดจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพของผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม
3(1) ไม่กระทำการใดๆ อันอาจนำมาซึ่งความเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์แห่งวิชาชีพ มีผลถึงการกลับเป็นสมาชิกของสภาวิศวกร ตามที่ระบุในมาตรา 12(4)
3(2) ต้องปฏิบัติงานที่ได้รับทำอย่างถูกต้องตามหลักปฏิบัติและวิชาการ
รับทำงานรื้อถอนและต่อเติมอาคารรับทำงานรื้อถอนและต่อเติมอาคาร ไม่ได้ขออนุญาต ผิดหรือไม่..?
วิศวกร ว. รับงานรื้อถอนและต่อเติมครัวบ้านพักอาศัยของนาย ก. ทั้งที่รู้ว่าผู้ว่าจ้างไม่ประสงค์จะดำเนินการขออนุญาตแก้ไขดัดแปลงอาคารให้ถูกต้องตามกฎหมาย พักใช้ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมของนาย ว. โดยมีกำหนดระยะเวลา 1 ปี
สิ่งที่วิศวกรต้องศึกษาเพิ่มเติมสิ่งที่วิศวกรต้องศึกษาเพิ่มเติม ข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
พระราชบัญญัติวิศวกร พ.ศ. 2542 • พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 • พระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2518 • พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 • พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535
พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ.2535 • พระราชบัญญัติการขุดดินและถมดิน พ.ศ. 2543 • พระราชบัญญัติการจัดสรรที่ดิน พ.ศ. 2543 • พระราชบัญญัติอาคารชุด พ.ศ.2522 • กฎหมายความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับงานก่อสร้าง (เกี่ยวกับปั้นจั่น / หม้อน้ำ / เครื่องจักร / นั่งร้าน / สารเคมี เป็นต้น)
กรณีศึกษา เจ้าหน้าที่เขตปทุมวันตรวจพบว่ามีการก่อสร้างอาคารผิดไปจากแบบที่ได้รับอนุญาต บริเวณซอยรองเมือง 5 ถนนพระราม 1 แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร
สำนักงานเขตปทุมวันจึงได้ออกคำสั่งระงับการก่อสร้างฯ และมีคำสั่งห้ามใช้ หรือเข้าไปในส่วนใดๆ ของอาคาร นาย ส. เป็นวิศวกรควบคุมงาน
นี่มันก่อสร้างไม่ตรงตามแบบนี่ครับนี่มันก่อสร้างไม่ตรงตามแบบนี่ครับ นาย ส. แจ้งเจ้าของอาคารให้แก้ไข แต่เจ้าของอาคารเพิกเฉย จึงแจ้งขอถอนตัว แต่ไม่ได้แจ้งเจ้าพนักงานท้องถิ่น
ผลการพิจารณา ตักเตือนนาย ส. โดยทำเป็นหนังสือให้ใช้ความระมัดระวังในการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมให้ครบถ้วนถูกต้องตามกฎหมาย
3(3) ต้องประกอบวิชาชีพวิศวกรรมด้วยความซื่อสัตย์สุจริต
ทำยังไงดีหว่า.. ไม่มีลายเซ็นวิศวกรออกแบบกับควบคุมงาน ตกลงสร้างตามแบบนี้เลยนะครับ อิอิ.. ปลอมลายเซ็นซะเลย
กรณีศึกษา เจ้าของอาคารทำสัญญาว่าจ้าง หจก. ว. ให้ทำการรื้อถอนอาคารพักอาศัยหลังเก่า และทำการก่อสร้างอาคารพักอาศัยชั้นเดียว พร้อมกับต่อเติมงานรั้วสูง 1 เมตร ยาว 68 เมตร ในราคา 1,360,000 บาท มีการยื่นเอกสารเพื่อขออนุญาตก่อสร้างต่อสำนักงานเทศบาลนครปากเกร็ด โดยระบุวิศวกร ธ. เป็นผู้ออกแบบและควบคุมงาน
ข้อเท็จจริง วิศวกร ธ. ได้ดำเนินการก่อสร้างและควบคุมงาน โดยที่ใบอนุญาตยังไม่ออก แบบขออนุญาตระบุใช้เสาเข็มขนาด I 22x22 เซนติเมตร ยาว 12 เมตร แต่ก่อสร้างจริง วิศวกร ธ. ใช้เสาเข็มหกเหลี่ยมกลวงขนาด 15 เซนติเมตร ยาว 6 เมตร
ข้อเท็จจริง....(ต่อ) วิศวกร ธ. ให้การยอมรับว่า ในการก่อสร้างบ้านหลังดังกล่าว ใช้รถ Backhoe กดเสาเข็มจำนวน 130 ต้น ในระยะเวลาเพียง 2 วัน จากการตรวจสอบ พบว่าเสาเข็มไม่อยู่ในตำแหน่งที่ถูกต้องตามหลักปฏิบัติและวิชาการ
รื้ออาคารเดิมทิ้งโดยยังไม่ได้รับอนุญาตจากทางราชการ ใช้ Backhoe กดเสาเข็มหกเหลี่ยม 130 ต้น
ข้อพิจารณา ประเด็นแรกดำเนินการก่อสร้างและควบคุมงานในช่วงระยะเวลาที่ยังมิได้รับใบอนุญาต เชื่อได้ว่ามีเจตนาจงใจฝ่าฝืนต่อพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ข้อ 3 (2)
ข้อพิจารณา...(ต่อ) ประเด็นที่สอง ใช้เสาเข็มผิดไปจากแบบที่ขออนุญาต ถือได้ว่ามีเจตนาควบคุมงานไม่ให้เป็นไปตามแบบแปลนที่ตนได้ออกแบบไว้ ข้อ 3 (3)
ข้อพิจารณา.....(ต่อ) ประเด็นที่สาม การใช้ Backhoe กดเสาเข็ม และเสาเข็มไม่อยู่ในตำแหน่งที่ถูกต้อง ไม่เป็นไปตามมาตรฐานการประกอบวิชาชีพที่เหมาะสม ลงโทษพักใช้ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมของ วิศวกร ธ. มีกำหนดระยะเวลา 2 ปี นับแต่วันที่ได้รับทราบคำวินิจฉัยของคณะกรรมการจรรยาบรรณ
BIDDING 1 อืม..งานเค๊าดี จ๊าก.. ครับท่าน 1 2 3(4) ไม่ใช้อำนาจหน้าที่โดยไม่ชอบธรรม หรืออิทธิพล
3(5) ไม่เรียก รับ หรือยอมรับทรัพย์สินหรือผลประโยชน์อย่างใด
วิศวกร 3(6) ไม่โฆษณาหรือยอมให้ผู้อื่นโฆษณาเกินความจริง
จรรยาบรรณวิศวกร • นายวิศวกร รักโฆษณา • รับเซ็นแบบทั่วราชอาณาจักร • รับคัดลอกแบบทุกประเภท • ด้วยราคาเป็นกันเอง • สนใจติดต่อ 081-888-8888 ผิดจรรยาบรรณ