250 likes | 427 Views
โครงร่างการวิจัยเรื่องรูปแบบการบริหาร ของสำนักงานคณะกรรมการสกสค. รัญจวน ประวัติเมือง. ประเด็นที่นำเสนอ 3 ส่วน. บทนำ การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง ระเบียบวิธีวิจัย. ส่วนที่ 1 บทนำ. ความเป็นมาและความสำคัญ คำถามในการวิจัย วัตถุประสงค์การวิจัย ขอบเขตของการวิจัย
E N D
โครงร่างการวิจัยเรื่องรูปแบบการบริหาร โครงร่างการวิจัยเรื่องรูปแบบการบริหาร ของสำนักงานคณะกรรมการสกสค. รัญจวน ประวัติเมือง
ประเด็นที่นำเสนอ 3 ส่วน • บทนำ • การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง • ระเบียบวิธีวิจัย
ส่วนที่1 บทนำ • ความเป็นมาและความสำคัญ • คำถามในการวิจัย • วัตถุประสงค์การวิจัย • ขอบเขตของการวิจัย • ประโยชน์ที่ได้รับ
ความเป็นมาและความสำคัญความเป็นมาและความสำคัญ เศรษฐกิจ การเมือง คู่แข่งรายใหม่ ผู้ขาย องค์การ ผู้ซื้อ สินค้าทดแทน เทคโนโลยี สังคม
ความเปลี่ยนแปลง ของสภาพแวดล้อมภายนอก สภาวะการแข่งขัน ในอุตสาหกรรม การดำเนินงานหรือบริการ ภายในขององค์กร แนวคิดตะวันตก การปรับเปลี่ยน ตามกระแสการเปลี่ยนแปลงของโลก แนวคิดตะวันออก กำหนด กลยุทธ์ การบริหาร/ แนวทางการปฏิบัติ ค่านิยนร่วม/วัฒนธรรมองค์การ บรรลุความสำเร็จตามเป้าหมาย
Structure Strategy System Shared Values Skill Style Staff 7’s ของ McKinsey
SUPPORT ACTIVITIES Value Chain
การจัดการ • การตลาด • การผลิต • การบัญชีและการเงิน • การบริหารทรัพยากรมนุษย์ • การวิจัยและพัฒนา Functional Analysis
เครื่องมือทางด้านการจัดการเครื่องมือทางด้านการจัดการ • QCC • ISO • Re-engineering • Re-organizing • Knowledge Management • TQM • Balance Score Card
องค์การ ถือเป็นหน่วยชีวิต เช่นเดียวกับสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ มีวิถีชีวิต ลักษณะนิสัย บุคลิกลักษณะเฉพาะที่แตกต่างกันไป บางองค์การเชื่องช้า บางองค์การรวดเร็ว บางองค์การมีการดำเนินงานที่สั้น บางองค์การยาวนาน
บริษัท ไอ บี เอ็ม (IBM) • 3 เอ็ม (3M) • พรอคเตอร์ แอนด์ แกมเบิล (P & G) • Johnson & Johnson • บริษัทปูนซีเมนต์ไทย • บริษัท ซี พี • บริษัท ซิงเกอร์ • บริษัท แป้งตรางู • ธนาคารไทยพาณิชย์
Tom Peter and Waterman : • บริษัทจะมีความเป็นเลิศได้ เพราะมีการปรับเปลี่ยนการบริหาร • ภายใต้วัฒนธรรมที่แข็งแกร่งและ • สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ขององค์การ
Fortune : • บริษัทที่เหนือคู่แข่งขัน เพราะมีบุคลิกลักษณะที่แข็งแกร่งเฉพาะตัว • และวิธีการเรียนรู้ที่จะปรับสภาพของตนเองตลอดเวลา • โดยมีวิธีคิดและแนวทางการดำเนินงานเฉพาะ • ที่สะท้อนพฤติกรรม และวัฒนธรรมองค์การ
การปรับเปลี่ยนแนวทางการดำเนินงานการปรับเปลี่ยนแนวทางการดำเนินงาน จะต้องอยู่ภายใต้รูปแบบการบริหารที่มี ประสิทธิภาพสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมต่างๆ และได้รับการยอมรับจากผู้ที่เกี่ยวข้อง
คำถามในการวิจัย 1)ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในสำนักงานคณะกรรมการ สกสค. มองการบริหารงานในองค์การของตนเองในปัจจุบันนี้อย่างไร 2) ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในสำนักงานคณะกรรมการ สกสค. มีความคิดเห็นต่อรูปแบบการบริหารของสำนักงานในอนาคตวาควรมีลักษณะอย่างไร 3)รูปแบบการบริหารที่เหมาะสมของสำนักงาน สกสค. ควรเป็นเช่นไร
วัตถุประสงค์ในการวิจัยวัตถุประสงค์ในการวิจัย • เพื่อวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็ง ของการบริหารงานใน ปัจจุบัน เพื่อหาช่องว่างในการปรับปรุงพัฒนา • เพื่อศึกษาวิเคราะห์รูปแบบการบริหารของสำนักงาน สกสค.ที่เอื้อต่อประสิทธิภาพการดำเนินงาน • เพื่อเสนอรูปแบบการบริหารสำนักงาน สกสค. ใน อนาคต
ขอบเขตการวิจัย ขอบเขตประชากร บุคลากรของสำนักงานคณะกรรมการ สกสค.ทุกระดับ ที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นผู้บริหารและผู้ปฏิบัติการ ขอบเขตเนื้อหา การศึกษาผู้วิจัยมุ่งศึกษา ความคิดเห็นของประชากรเกี่ยวข้องถึงรูปแบบการบริหารในปัจจุบันทั้งจุดเด่น จุดด้อย และคุณลักษณะที่คาดหวังในด้านโครงสร้างการบริหารงาน ด้านกระบวนการบริหาร และด้านการเรียนรู้ ขอบเขตเวลา มิถุนายน-ตุลาคม 2552
ประโยชน์ที่ได้รับ • ได้ข้อมูลการบริหารในภาพรวม เพื่อใช้เป็นแนวทางในการปรับรูปแบบการบริหารสำนักงานสู่สภาวะต่างๆที่มีความเหมาะสมมีคุณภาพและมีความสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้บริการ • ได้รูปแบบการบริหารที่เอื้อต่อการดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพ • สำนักงานคณะกรรมการ สกสค. สามารถวางแผนพัฒนาการดำเนินงานในการบริหารองค์การในอนาคตที่มีทิศทางที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม และเกิดความพึงพอใจทั้งผู้ให้บริการและผู้รับบริการ
ส่วนที่ 2การทบทวนวรรณกรรม • แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับองค์การ และสภาพแวดล้อมขององค์การ • แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ • แนวคิดเกี่ยวกับเครื่องมือในการบริหารจัดการ • แนวคิดในการบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์ • แนวคิดในการบริหารโดยการใช้ BSC และการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ • งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
กรอบแนวคิดในการวิจัย ความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณลักษณะการบริหารที่คาดหวัง - ด้านโครงสร้าง - ด้านกระบวนการ - ด้านการเรียนรู้ของบุคคลากร คุณลักษณะทั่วไป - ตำแหน่ง - หน่วยงานสังกัด - การศึกษา - รายได้ - ลักษณะงานที่ทำ SWOT Analysis - การบริหารปัจจุบัน
นิยามปฏิบัติการ • รูปแบบการบริหารในอนาคต • การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ • การบริหารจัดการที่ดี • การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ • การบริหารเชิงกลยุทธ์ • สำนักงานคณะกรรมการ สกสค.
ส่วนที่ 3 ระเบียบวิธีวิจัย คำถามในการวิจัย วัตถุประสงค์การวิจัย กระบวนทัศน์ การวิจัยเชิงปริมาณ ยุทธศาสตร์การวิจัย การออกแบบวิธีการวิจัย
การสัมภาษณ์เและสังเกตสภาพแวดล้อมในองค์การการสัมภาษณ์เและสังเกตสภาพแวดล้อมในองค์การ สังเกต กลุ่มผู้บริหารและกลุ่มบุคลากร กลุ่มผู้ให้ข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูล แจกแบบสอบถาม กระบวนการวิจัย ความเที่ยงตรง:Validity แนวคำถามในการสัมภาษณ์ การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ ตัวผู้ทำการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ ความเชื่อมั่นReliability อุปกรณ์ในการจดบันทึก แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูล วัตถุประสงค์ การถอดความข้อมูลจากเทปเสียงเป็นความเรียง ความผูกพันของข้อมูล การจัดระเบียบข้อมูล วิธีการ วิเคราะห์ แปลความ ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการวิเคราะห์ หาความสัมพันธ์เขียนข้อสรุปของข้อมูล