340 likes | 517 Views
อวสานของครูสอน. การเรียนวิทยาศาสตร์ในศตวรรษที่ ๒๑. วิจารณ์ พานิช นิสิตวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ ๒๕๐๓ - ๒๕๐๕. บรรยาย ณ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงการณ์มหาวิทยาลัย ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗. ศตวรรษที่ ๒๑ ต่างจากศตวรรษที่ ๒๐. เปลี่ยนแปลงเร็ว ไม่คาดฝัน ความรู้งอกเร็ว เก่าเร็ว ความซับซ้อน
E N D
อวสานของครูสอน การเรียนวิทยาศาสตร์ในศตวรรษที่ ๒๑ วิจารณ์ พานิช นิสิตวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ ๒๕๐๓ - ๒๕๐๕ บรรยาย ณ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงการณ์มหาวิทยาลัย ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗
ศตวรรษที่ ๒๑ ต่างจากศตวรรษที่ ๒๐ • เปลี่ยนแปลงเร็ว ไม่คาดฝัน • ความรู้งอกเร็ว เก่าเร็ว • ความซับซ้อน • การแข่งขัน และร่วมมือ • โลกาภิวัตน์ • ข่าวสารท่วมท้น ปนมายา • คนเปลี่ยน • ความสัมพันธ์เป็นแนวราบมากขึ้น กศ. ไทยยังอยู่ในศตวรรษที่ ๑๘ - ๒๐
ความจริงของศตวรรษที่ ๒๑ • สังคม/โลก เปลี่ยน • เด็กเปลี่ยน • ทักษะที่ต้องการในการดำรงชีวิตเปลี่ยน • คุณลักษณะของบัณฑิตเปลี่ยน • การเรียนรู้ต้องเปลี่ยน • สอนไม่ได้ผล ต้องเรียน • ครู/อาจารย์ ต้องไม่เน้นสอน เน้นออกแบบการเรียนรู้ เน้นสร้างแรงบันดาลใจ เน้นเป็นโค้ช ไม่ใช่ผู้สอน
การเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ ๒๑ • ต้องเลย การเรียน ความรู้ (knowledge) สู่การฝึก ทักษะ(skills) • การเรียนวิทยาศาสตร์ ต้องเลย fact สู่ การคิด และเจตคติ เชิงวิทยาศาสตร์scientific thinking / attitude • เลย “รู้” สู่ “ชอบ” “เห็นคุณค่า” (appreciate) • ไม่เน้น สอน แต่ เน้น เรียน
การเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ ๒๑ • “ครูเครื่อง” สอน/ถ่ายทอด เนื้อ ค. ... สิ่งที่ตายตัว • ครูคน โค้ชการคิด การประยุกต์ ค. เพื่อ “รู้จริง” (mastery) ... ส่วนที่ดิ้นได้ • การเรียนรู้เป็นเรื่องของ นร./นิสิต • เรียนหลายมิติ/บูรณาการ ในเวลาเดียวกัน สู่ Transformative& Mastery Learning
เรียน AL เพื่อพัฒนา 5 ด้าน เรียนแบบ Active/Engaged Learning ซับซ้อนกว่านี้ โยงชีวิตจริงให้มากที่สุด Contributor Service Learning Creator เรียนให้ได้ทักษะ โดยลงมือทำ และคิด
Transformative Learning Table III-1. Levels of learning 2. เรียนรู้งอกงามจากภายใน 3. เปลี่ยนสมอง
บันได ๖ ขั้นของการพัฒนาคุณธรรม • ขั้นที่ ๑ ปฏิบัติเพราะความกลัว ไม่อยากเดือดร้อน • ขั้นที่ ๒ ปฏิบัติเพราะอยากได้รางวัล • ขั้นที่ ๓ ปฏิบัติเพราะอยากเอาใจคนบางคน • ขั้นที่ ๔ ปฏิบัติเพราะต้องปฏิบัติตามกฎ • ขั้นที่ ๕ ปฏิบัติเพราะต้องการให้ตนดูดี ให้ได้ชื่อว่าเป็นคนดี ให้ได้ชื่อว่ามีน้ำใจ • ขั้นที่ ๖ ปฏิบัติตามหลักการ หรืออุดมการณ์ของตน ไม่ต้องการให้มีคนยกย่องชมเชยหรือให้รางวัล Lawrence Kohlberg's stages of moral development
ศตวรรษ ที่ ๒๑ ทักษะแห่ง
การเรียนรู้ • การเรียนรู้เป็นผลของการกระทำและการคิดของนักเรียน • เกิดจากการกระทำและการคิดของนักเรียนเองเท่านั้น • ครูช่วยทำให้เกิดการเรียนรู้ได้โดยเข้าไปจัดการสิ่งที่นักเรียนทำ (ปฏิบัติ และคิด) เพื่อการเรียนรู้ Herbert A. Simon
เสพ สร้าง Constructionism
เรียนรู้แบบไม่รู้ตัว สังเกต เก็บข้อมูล เหตุการณ์ ความจำใช้งาน Working Memory ตระหนักรู้ และคิด จำ เรียนรู้ ลืม ความจำระยะยาว Longterm Memory รู้ข้อเท็จจริงและกระบวนการ Ref.: Daniel T. Willingham. Why Don’t Students Like School?, 2009
อุดมการณ์ของครูในศตวรรษที่ ๒๑ • ไม่ทำตนเป็น “ผู้รู้” ไม่ตอบคำถามศิษย์ ที่ถามเนื้อความรู้ • ทำตนเป็น “ผู้ไม่รู้” เน้นตั้งคำถาม ให้ศิษย์ค้นคว้า หรือทดลองปฏิบัติเพื่อหาคำตอบเอง • ท้าทาย กระตุ้น ให้ศิษย์เกิดความใคร่รู้ และขวนขวายอดทนหาคำตอบ/ทักษะ เอง Inquiry/Challenge-Based Learning
วิธีการที่แตกต่าง ของการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑ • สอนน้อย ศิษย์ได้เรียนรู้มาก (Teach Less, Learn More) • เรียนโดยลงมือทำ (Active Learning) และทบทวนไตร่ตรอง(AAR / Reflection) เรียน = ทำงาน • เรียนเป็นทีม ช่วยเหลือกัน ไม่ทิ้งกัน • นร. เป็นเจ้าของการเรียน • ครูเอาใจใส่เด็กเรียนอ่อน • เน้นสอบเพื่อแก้ไข พัฒนา (Formative Assessment) • เรียนให้ใช้ ค.เป็น, ฝึกใช้ ค., รู้จริง (mastery) • ใช้วิธีเรียนหลายแบบ ผสมผสานกัน
คุณค่าของครู...สูงยิ่ง ในศตวรรษ ที่ ๒๑ • โดยใช้เวลาทำหน้าที่โค้ช ให้ศิษย์มีทักษะสำคัญ สำหรับการดำรงชีวิตในสังคมยุคใหม่ • ไม่ใช่เน้นทำหน้าที่่ถ่ายทอดความรู้ • เอาใจใส่ศิษย์ทุกคน เป็นรายคน ไม่ใช่ สนใจแต่เด็กเก่ง • รวมตัวกันเรียนรู้วิธีทำหน้าที่ โค้ช ศิษย์ ให้พัฒนาครบด้าน เรียนรู้ตลอดชีวิต … ชุมชนเรียนรู้ ครูเพื่อศิษย์(PLC – Professional Learning Community)
สอนวิทยาศาสตร์ สอนคน หรือ
เรียนวิชา เรียนบูรณาการ หรือ
เรียนรู้ “พลังสาม” สมอง ใจ วิญญาณ จิตตปัญญาศึกษา สู่ปัญญาญาณ (intuition) http://www.gotoknow.org/posts?tag=The+Heart+of+Higher+Education • “…. if I can influence their heart, I can influence their mind, then hands and feet follow” PMAC 2014, 31 Jan 2014
ความล้มเหลวและสำเร็จ ของครูเรฟ ในการสอนวิทยาศาสตร์ ชั้น ป. ๕ http://www.gotoknow.org/posts/188353
เป้าหมายของการเรียน ว. ใน กศ. พฐ. A New Vision for Teaching Science. Scientific American • มีความรู้ ใช้ และตีความ คำอธิบายทางวิทยาศาสตร์ เกี่ยวกับโลกธรรมชาติ • สามารถสร้าง และประเมินหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ พร้อมกับคำอธิบาย • เข้าใจธรรมชาติ และพัฒนาการของความรู้ทางวิทยาศาสตร์ • สามารถเข้าร่วมกิจกรรม และการถกเถียงทางวิทยาศาสตร์ http://www.gotoknow.org/posts/560072 เป็น Science-Informed Citizen
กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียน ว. • เป้าหมายที่เปลี่ยน • เรียนตั้งแต่เด็ก สมองเด็กเรียนรู้เหตุผลได้ ขึ้นกับพื้นความรู้ • อย่าเรียนแบบแยกย่อยวิชาเกินไป • เรียนจากการลงมือทำ ทำจริงๆ (authentic learning) • ครูชวนทำ reflection 3 แบบ เพื่อ Mastery L • ครูสอดใส่ Embedded Formative Assessment & Formative Feedback
คุณค่าของครูวิทย์ • http://www.gotoknow.org/posts/558157 • ตั้งคำถาม น่าน่าสนใจ สนุก ไม่ใช่ให้คำตอบ • ตั้งคำถาม How & Why • ให้ นร. เชื่อมโยงสู่ชีวิตจริงี ผ่านการลงมือทำ และไตร่ตรอง (reflection) • ให้ฝึกเชื่อมโยงปฏิบัติ สู่ทฤษฎี
เรียนรู้ ๓ มิติ • ทักษะ • หลักการ • สาระ
ทักษะวิทย์ & วิศว ๘ • Ask Q(S), Define P (E) • Model : Develop & Use • Investigation • Analyse & Interprete Data • Use Math & Computational Thinking • Explain (S) & Design Solution (E) • Argue with Evidence (s) • Info : Obtain, Evaluate, Communicate http://www.gotoknow.org/posts/483560
หลักการ ๗ ประการ • Patterns • Cause & Effect • Scale, Proportion & Quantity • Systems & System Models • Energy & Matter • Structure & Function • Stability & Change http://www.gotoknow.org/posts/483560
สาระวิชา๔ กลุ่ม • Physical Sciences • Life Sciences • Earth & Space Sciences • Engineering, Technology & Application of Science http://www.gotoknow.org/posts/483560
การจัดการเรียนรู้ในยุคปัจจุบันการจัดการเรียนรู้ในยุคปัจจุบัน PBL CBL RBL SBL WBL IBL • หาทางให้ นักเรียน/นศ. เป็นเจ้าของการเรียน (Student Engagement) • กระตุ้นความสนใจใฝ่รู้ • เรียนสนุก • เรียนด้วยความอยากเรียน • เรียนแล้วภูมิใจ เกิดความมั่นใจตนเอง เห็นคุณค่า/โอกาส ทำประโยชน์แก่ส่วนรวม • เห็นคุณค่าของตนเอง ของการเรียน ต่อชีวิตในภายหน้า ครูฝึกจัดการเรียนรู้แบบนี้
เปลี่ยนห้องสอน เป็นห้องเรียน • เพราะเป้าหมายของการศึกษาเปลี่ยนไป • จากเน้นเรียนวิชา / ความรู้ สู่ เรียนให้ได้ทักษะ ... 21st Century Skills : ทักษะจำเป็น 3ร 1ว - แรงบันดาลใจ เรียนรู้ ร่วมมือ วินัยในตน • จาก Teach to Test สู่ Holistic Learning เรียนให้ได้พัฒนาการ ๕ ด้าน • การเรียนคือการปฏิบัติ ... การเรียนรู้เกิดจากการปฏิบัติ + คิด เท่านั้น ... ไม่ใช่การรับถ่ายทอด • ครูต้องเปลี่ยนบทบาท จากครูสอน ... สู่ ครูฝึก
เปลี่ยน นร. จากผู้รับถ่ายทอด เป็นผู้สร้าง ค. • ร่วมจัดทำ VDO เพื่อกลับทางห้องเรียน • สร้าง ค. ใน PBL • ตั้งคำถามที่หลุดโลก สู่โจทย์ Project ที่ท้าทาย • เรียน โดยสร้าง ค. ทำประโยชน์แก่ผู้อื่น • เกิดทักษะในการเรียนรู้ (Learning Skills) และจิตสาธารณะ • ทำงานเป็นทีม เกิดทักษะการทำงานเป็นทีม ทักษะความร่วมมือ (Collaboration Skills) สอนเพื่อน • เป็น co-educator http://www.gotoknow.org/posts?tag=november
เปลี่ยนครู จากครูสอน เป็นครูฝึก • สร้างแรงบันดาลใจ จุดไฟ • ยั่วยุ ท้าทาย บอกเป้าหมายที่ท้าทายของแต่ละคน • ชื่นชม และแนะให้แก้จุดอ่อน แนะให้ฝึกเพิ่มเพื่อยกระดับตรงจุดที่จำเพาะของแต่ละคน • ครูไม่ใช่เจ้าของชั้นเรียน นักเรียนเป็นเจ้าของ ครูเป็นผู้อำนวยความสะดวก • คอยสังเกตปัญหา / ผลสัมฤทธิ์ ของ นร.แต่ละคน • EFA + TFB
เปลี่ยนห้องสอนเป็นห้องเรียนเปลี่ยนห้องสอนเป็นห้องเรียน • จากห้องสอน เป็นห้องเรียน • เรียนโดยการทำงาน • ห้องเรียน เป็นห้องทำงาน (Studio) ทำงานเป็นทีม • ไม่จัดห้องแบบ Classroom แต่จัดเป็น Studio • นร. เป็นผู้ทำกิจกรรม จัดห้องให้สะดวกต่อกิจกรรมกลุ่มของ นร. โดยครูเข้าถึงแต่ละกลุ่ม/คน ได้สะดวก
เรียนได้ดีที่สุดโดยใช้ “ส้นเท้า” • SOLE = Self-Organized Learning Environment • http://www.gotoknow.org/posts/560716