550 likes | 723 Views
ศาสตราจารย์ ดร. คุณหญิงสุชาดา กีระนันทน์. บนเส้นทางการบริหารอุดมศึกษาไทยสู่ความเป็นเลิศ. บนเส้นทางการบริหารอุดมศึกษาไทย. สถานการณ์อุดมศึกษาไทยในบริบทโลก ประเด็นท้าทายอุดมศึกษาไทย การบริหารอุดมศึกษาไทยสู่ความเป็นเลิศ. สถานการณ์อุดมศึกษา ไทยในบริบทโลก. แนวโน้มสถานการณ์โลก
E N D
ศาสตราจารย์ ดร. คุณหญิงสุชาดา กีระนันทน์ บนเส้นทางการบริหารอุดมศึกษาไทยสู่ความเป็นเลิศ
บนเส้นทางการบริหารอุดมศึกษาไทยบนเส้นทางการบริหารอุดมศึกษาไทย • สถานการณ์อุดมศึกษาไทยในบริบทโลก • ประเด็นท้าทายอุดมศึกษาไทย • การบริหารอุดมศึกษาไทยสู่ความเป็นเลิศ
สถานการณ์อุดมศึกษาไทยในบริบทโลกสถานการณ์อุดมศึกษาไทยในบริบทโลก • แนวโน้มสถานการณ์โลก • แนวโน้มสถานการณ์ภายในประเทศ • แนวโน้มสถานการณ์อุดมศึกษาไทย
โลกปัจจุบัน • โลกแห่งการเปลี่ยนแปลงที่ไร้ขอบเขตหรือขีดจำกัด • เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เร็วและแรง • ไม่สามารถคาดการล่วงหน้าได้มากนัก • เป็นโลกที่ถูกกำกับด้วยกฎใหม่แห่งโลกาภิวัตน์
สภาพปฐมเหตุ • ความก้าวหน้าทางวิทยาการ • ความก้าวหน้าด้าน IT และการสื่อสาร • การเปลี่ยนแปลงด้านสิ่งแวดล้อม • การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ • การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและการเมือง
ความก้าวหน้าทางวิทยาการความก้าวหน้าทางวิทยาการ • วิทยาการเกิดขึ้นใหม่อย่างมากและรวดเร็ว • มีความร่วมมือกันมากขึ้น ทำให้เกิดการต่อยอดองค์ความรู้ได้เร็ว • องค์ความรู้ที่มีอยู่ ล้าสมัยได้เร็ว • ต้องแสวงหาวิธีการก้าวให้ทันและมีส่วนร่วมในการสร้างองค์ความรู้ใหม่
ความก้าวหน้าด้าน IT และการสื่อสาร • ปรับวิธีการทำงาน • ปรับวิธีการเรียนรู้ • ปรับวิธีการบริหารจัดการ • ปรับวิถีการดำเนินชีวิตของมนุษย์
การเปลี่ยนแปลงด้านสิ่งแวดล้อมการเปลี่ยนแปลงด้านสิ่งแวดล้อม • สิ่งแวดล้อมเปลี่ยนแปลงจากการทำลายทรัพยากรธรรมชาติ • ความขาดแคลนทรัพยากรธรรมชาติ • การหาพลังงานทดแทน • สิ่งแวดล้อมเป็นพิษ • ฯลฯ
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ • การเปิดเสรีทางการค้าและการเงิน • การรวมตัวทางเศรษฐกิจเพื่ออำนาจต่อรอง • ระบบเศรษฐกิจสมัยใหม่ที่อิงเทคโนโลยี • ความเสียเปรียบทางการแข่งขันของประเทศเล็กทางเศรษฐกิจ
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและการเมืองการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและการเมือง • ความเป็นประชาธิปไตย • สังคมข่าวสารและสารสนเทศ • สังคมฐานความรู้ • การก่อการร้ายและสงคราม • การเมืองระหว่างประเทศ
ผลต่ออุดมศึกษา • หลักสูตรล้าสมัยง่าย • ต้องเร่งสร้างองค์ความรู้และติดตามความก้าวหน้าของวิทยาการมากขึ้น • สภาพการแข่งขันสูงทั้งภายในและภายนอกประเทศ • ความต้องการและความคาดหวังของสังคมเปลี่ยน
ผลต่อบัณฑิต • คุณสมบัติของบัณฑิตที่พึงประสงค์เปลี่ยนไป • บัณฑิตพบการแข่งขันที่สูงมากขึ้นจากต่างประเทศ • บัณฑิตต้องปรับความรู้ให้ทันสมัยอยู่เสมอ • บัณฑิตต้องก้าวให้ทันเทคโนโลยี • ฯลฯ
แนวโน้มสถานการณ์ภายในประเทศ • สถานการณ์ด้านสถาบันอุดมศึกษา • สถานการณ์ด้านงบประมาณ • สถานการณ์ด้านกฎเกณฑ์อุดมศึกษา • สถานการณ์ด้านระเบียบการบริหารราชการ
สถานการณ์ด้านสถาบันอุดมศึกษาสถานการณ์ด้านสถาบันอุดมศึกษา • มหาวิทยาลัยของรัฐเพิ่มขึ้น • สถาบันอุดมศึกษาเอกชนเพิ่มและพัฒนาได้ดีขึ้น • มีการเปิดสอนทางไกลมากขึ้น • FTA • บทบาทมหาวิทยาลัยต่างประเทศ
สถานการณ์ด้านสถาบันอุดมศึกษา(ต่อ)สถานการณ์ด้านสถาบันอุดมศึกษา(ต่อ) • แนวโน้มการหดตัวของประชากรวัยเรียนอุดมศึกษา โดยเฉพาะปริญญาตรี • ความคาดหวังจากภาครัฐ เอกชน และสังคม
สถานการณ์ด้านงบประมาณสถานการณ์ด้านงบประมาณ • แนวโน้มงบประมาณแผ่นดินไม่เพิ่มในอัตราที่สูงขึ้น สัดส่วนงบประมาณจากเงินรายได้มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น • งบประมาณแผ่นดินเกือบทั้งหมดเป็นงบบุคลากร และยังไม่เพียงพอ • งบประมาณแผ่นดินมีงบพัฒนาน้อยมาก
สถานการณ์ด้านกฎเกณฑ์อุดมศึกษาสถานการณ์ด้านกฎเกณฑ์อุดมศึกษา • เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร • เกณฑ์มาตรฐานอุดมศึกษา • เกณฑ์มาตรฐานการเรียนการสอนทางไกล • เปลี่ยนจากระบบ pre-audit เป็น post-audit โดยใช้ระบบรายงานที่สภามหาวิทยาลัยต้องรับผิดชอบ
สถานการณ์ด้านระเบียบการบริหารราชการสถานการณ์ด้านระเบียบการบริหารราชการ • พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 • พ.ร.บ. ระเบียบการบริหารข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาพ.ศ. 2547 • พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการกระทรวง ศึกษาธิการ
แนวโน้มสถานการณ์สถาบันอุดมศึกษาไทยแนวโน้มสถานการณ์สถาบันอุดมศึกษาไทย • มหาวิทยาลัยของรัฐหรือในกำกับของรัฐ • ระบบบริหารบุคคลมากกว่า 2 ระบบ • ปัญหาจากขนาด- หลักสูตร คณาจารย์ นิสิต • ปัญหาด้านการเงินการงบประมาณ • การรักษาชื่อเสียงทางวิชาการ • ฯลฯ
ประเด็นท้าทายการบริหารอุดมศึกษาไทยประเด็นท้าทายการบริหารอุดมศึกษาไทย • จะก้าวทันความก้าวหน้าทางวิทยาการอย่างไร? • จะคงชื่อเสียงของสถาบันในด้านใดและอย่างไร? • จะผลิตบัณฑิตแบบใด? • จะเป็นที่พึ่งของประเทศชาติอย่างไร? • จะบริหารจัดการด้านบุคคลอย่างไร? • จะบริหารจัดการด้านการเงินอย่างไร?
จะก้าวทันความก้าวหน้าทางวิทยาการอย่างไร?จะก้าวทันความก้าวหน้าทางวิทยาการอย่างไร? • การพัฒนาปัจจัยพื้นฐานเพื่อติดตามความก้าวหน้าได้อย่างมีประสิทธิผล(ฐานข้อมูล อุปกรณ์ เทคโนโลยี) • การพัฒนาคณาจารย์ (วุฒิ การอบรม ดูงาน การวิจัย) • หลักสูตรที่ทันสมัย • นวัตกรรมการบริหารหลักสูตร เช่น สหสาขาวิชาเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่
จะสร้างและคงชื่อเสียงของในด้านใดและอย่างไรจะสร้างและคงชื่อเสียงของในด้านใดและอย่างไร • สาขาใดจะพัฒนาเพื่อเป็นแหล่งอ้างอิง • สาขาใดจะคงรักษาไว้ • สาขาใดล้าสมัยและไม่ต้องคงไว้ • จะจัดการสาขาวิชาที่รัฐไม่สนับสนุนอย่างไร • จะสร้างสาขาวิชาใหม่เพื่ออนาคตได้อย่างไร • ฯลฯ
จะผลิตบัณฑิตแบบใด? • จะสร้างคนสำหรับยุคหน้าอย่างไร • จะกำหนดคุณสมบัติของบัณฑิตที่พึงประสงค์อย่างไร • จะทำให้บัณฑิตมีเอกลักษณ์พิเศษอย่างไร
เป้าหมายการผลิตบัณฑิตเป้าหมายการผลิตบัณฑิต • บัณฑิตที่มีความรู้และทักษะที่ได้มาตรฐานในระดับนานาชาติและเหมาะสมกับสังคม • เสริมสร้างนักศึกษาให้เป็นบัณฑิตที่สามารถครองตนอย่างมีคุณธรรมและเป็นผู้นำสังคมได้ • บัณฑิตมีคุณลักษณะที่เหมาะสมสำหรับการพัฒนาสังคมและประเทศในยุคต่อไป
ทักษะและคุณสมบัติที่พึงประสงค์ในบัณฑิตทักษะและคุณสมบัติที่พึงประสงค์ในบัณฑิต • ภาษา: ภาษาไทย อังกฤษและภาษาอื่น • ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ • ทักษะการวิเคราะห์ข้อมูล/กระบวนการวิจัย • ทักษะทางคณิตศาสตร์และสถิติ • ความคิดที่เป็นสากล- ใช้มาตรฐานนานาชาติในการทำงานและมีความเข้าใจในวัฒนธรรมต่างชาติ
ทักษะและคุณสมบัติที่พึงประสงค์ในบัณฑิตทักษะและคุณสมบัติที่พึงประสงค์ในบัณฑิต • การบริหารจัดการ – ทำงานเป็นทีม เป็นผู้นำและบริหารหน่วยงานได้ แก้ปัญหาได้ • ความคิดริเริ่ม – ค้นคว้าวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ได้ • การแข่งขัน – ทัดเทียมกับบัณฑิตประเทศอื่น(อย่างน้อยมหาวิทยาลัยชั้นนำในภูมิภาค)
ทัศนคติที่พึงประสงค์ในบัณฑิตทัศนคติที่พึงประสงค์ในบัณฑิต • เป็นคนดี (ซื่อสัตย์ มีคุณธรรม) • สู้งาน (อดทน) • พัฒนาตนเอง (เรียนรู้ตลอดชีวิต) • เป็นพลเมืองดี (รู้หน้าที่ มีความรับผิดชอบ) • ปรับตัวเองได้ • มีมนุษยสัมพันธ์ • อุทิศตนให้งาน
จะบริหารจัดการด้านบุคคลอย่างไร?จะบริหารจัดการด้านบุคคลอย่างไร? • การสร้างระบบบริหารบุคคลที่เหมาะสมและสามารถสนองวิสัยทัศน์และพันธกิจได้ • การปรับระบบพนักงานมหาวิทยาลัยเข้าสู่ระบบบริหารบุคคลใหม่ • การวางแผนบุคลากรของทุกหน่วยงาน
จะบริหารจัดการด้านการเงินอย่างไร?จะบริหารจัดการด้านการเงินอย่างไร? • การเตรียมการเพื่อรองรับระบบการจัดสรรงบประมาณของรัฐแบบใหม่ • การหา unit cost ต่อหน่วยผลผลิต และต่อหน่วยกิจกรรม • การพัฒนาและการจัดการทรัพย์สินกายภาพ • การพัฒนาและการจัดการทรัพย์สินทางปัญญา • การวางแผนด้านการเงินของทุกหน่วยงาน
อุดมศึกษาจะเป็นที่พึ่งของประเทศชาติอย่างไร? อุดมศึกษาจะเป็นที่พึ่งของประเทศชาติอย่างไร? • การบูรณาการองค์ความรู้เพื่อตอบยุทธศาสตร์ของประเทศ--สร้างนวัตกรรม • การสร้างองค์ความรู้เพื่อชี้นำสังคม • การสร้างคนที่สังคมและประเทศต้องการ—สาขาวิชา ทักษะ คุณสมบัติพื้นฐาน สร้างความรู้ใหม่ได้ เป็นพลเมืองที่ดี • ฯลฯ
การบริหารอุดมศึกษาไทยสู่ความเป็นเลิศการบริหารอุดมศึกษาไทยสู่ความเป็นเลิศ • รู้โลก รู้ประเทศ รู้ตัวเอง • กำหนดวิสัยทัศน์และพันธกิจหลัก • กำหนดยุทธศาสตร์ของสถาบันอุดมศึกษา • สร้างกลยุทธและนำยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ • กิจกรรมกับงบประมาณ • ประเมินผลลัพธ์
ประเด็นท้าทายการบริหารมหาวิทยาลัยประเด็นท้าทายการบริหารมหาวิทยาลัย ผู้บริหารจะตอบประเด็นท้าท้ายทั้งหมดแบบองค์รวมอย่างไร
กรณีตัวอย่าง • การบริหารจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ช่วง 2547-2551
ทิศทางของมหาวิทยาลัย วิสัยทัศน์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นแหล่งความรู้และแหล่งอ้างอิงของแผ่นดิน เพื่อเสริมสร้างคนและสังคมไทยให้พึ่งพาตนเองได้ แข่งขันได้ และร่วมมือได้อย่างทัดเทียมและยั่งยืน ในประชาคมโลก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พันธกิจ • สร้างบัณฑิตที่มีความรู้และทักษะที่ได้มาตรฐานในระดับนานาชาติและเหมาะสมกับสังคม • เสริมสร้างนิสิตให้เป็นบัณฑิตที่สามารถครองตนอย่างมีคุณธรรมและเป็นผู้นำสังคมได้ • บุกเบิกองค์ความรู้ใหม่และบูรณาการองค์ความรู้เพื่อประโยชน์ของสังคมไทย • ถ่ายโอนองค์ความรู้กับสาธารณะเพื่อช่วยพัฒนาสังคมไทยไปสู่การพึ่งพาตนเองอย่างยั่งยืนในประชาคมโลก • ทำนุบำรุงและสืบสานศิลปวัฒนธรรม
ยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย • ยุทธศาสตร์ตามพันธกิจ • เป็นยุทธศาสตร์ที่มุ่งเน้นต่อการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยตามพันธกิจที่ได้กำหนดไว้ • ยุทธศาสตร์การพัฒนาองค์กร • เป็นยุทธศาสตร์ในการพัฒนามหาวิทยาลัยให้มีความทันสมัย ที่สามารถสร้างผลผลิตตามพันธกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล • ยุทธศาสตร์การบูรณาการระหว่างศาสตร์ • เป็นยุทธศาสตร์ในการพัฒนาองค์ความรู้ เพื่อให้มหาวิทยาลัยได้เป็นแกนหลักในการเสริมสร้างองค์ความรู้ และเป็นที่พึ่งพิงทางวิชาการให้แก่สังคมและประเทศ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ของมหาวิทยาลัยยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ของมหาวิทยาลัย ยุทธศาสตร์ตามพันธกิจ กลยุทธ์ที่ 1การเสริมสร้างความแข็งแกร่งทางวิชาการและวิจัย ทั้งใน ศาสตร์เดียวกัน และการบูรณาการระหว่างศาสตร์ กลยุทธ์ที่ 2การทำให้บัณฑิตของจุฬาฯ มีคุณภาพ และมีเอกลักษณ์ กลยุทธ์ที่ 3การเพิ่มบทบาทของจุฬาฯ ในสังคมประเทศไทย และนานาชาติ กลยุทธ์ที่ 4ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ยุทธศาสตร์การพัฒนาองค์กร กลยุทธ์ที่ 1การสร้างธรรมาภิบาลในการบริหาร กลยุทธ์ที่ 2การพัฒนาระบบบริหารบุคคลของจุฬาฯ กลยุทธ์ที่ 3การพัฒนาระบบกายภาพของมหาวิทยาลัย กลยุทธ์ที่ 4การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารและการบริหารวิชาการ กลยุทธ์ที่ 5การประชาสัมพันธ์เชิงรุก กลยุทธ์ที่ 6การแสวงหารายได้ • ยุทธศาสตร์การบูรณาการระหว่างศาสตร์ • มหาวิทยาลัยจะมีการพัฒนาและสร้างองค์ความรู้ ผ่านทางการบูรณาการเพื่อนำไปสู่เป้าหมาย 3 ประการ ได้แก่ • คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น (Better Life) • สังคมที่ดีและน่าอยู่ขึ้น (Better Place to Live) • ความสามารถในการแข่งขันสูงขึ้น (Better Competitiveness) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วิสัยทัศน์: เป็นแหล่งความรู้ และอ้างอิงของแผ่นดินฯ ผลิตบัณฑิตที่มี คุณภาพ ผลิตบัณฑิตที่สามารถ ครองตนอย่างมีคุณธรรม บุกเบิกองค์ความรู้ ใหม่ ถ่ายโอนความรู้ สู่สาธารณะ ทำนุบำรุงและ สืบสานศิลปวัฒนธรรม บัณฑิตของจุฬาฯ มีคุณภาพและเอกลักษณ์ เพิ่มบทบาทของจุฬาฯ ในสังคมปท.ไทย และนานาชาติ ทำนุบำรุงศิลป วัฒนธรรม การดูแล รักษา พัฒนา สถานที่ ทรงคุณค่า จัดกิจกรรม อย่างต่อเนื่อง เชื่อมโยงกับ ภูมิภาค/นานาชาติ Student Competency Distance Education เชื่อมโยงกับ ธุรกิจ/อุตสาหกรรม นิสิตมีส่วนร่วม ในกิจกรรม ศิลปวัฒนธรรม มากขึ้น ผสมผสานศิลป วัฒนธรรม เข้ากับการเรียน การสอน Activity Transcript เชื่อมโยง ยุทธศาสตร์ ของประเทศ เชื่อมโยงกับ ชุมชน/ท้องถิ่น การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ การประชาสัมพันธ์เชิงรุก การพัฒนาระบบกายภาพ ICT Master Plan ระบบกลางในการปชส. Learning Center Single Database การปชส.ภายใน Green Campus Single Datawarehouse IT/IS for Distance Education ขั้นตอนและกระบวนการ พัฒนาระบบกายภาพ Branding การปชส.วิชาการ ปรับระบบจราจร การสร้างธรรมาภิบาลในการบริหาร การพัฒนาระบบบริหารบุคคล Bus Intelligence & CU Operation Center ปรับปรุงระบบพนง. ระบบบริหารบุคคลสำหรับอนาคต ปรับภาระอาจารย์ QA & RM ระบบ AIS ปรับขั้นตอนการบริหาร เสริมสร้างความแข็ง แกร่งทางวิชาการและวิจัย สนับสนุน CE และ RU วิจัยบูรณาการ ลดขั้นตอนการ บริหารวิชาการ การทำงานร่วมกัน ระหว่างอาจารย์ต่าง ศาสตร์และระหว่าง อาจารย์กับนิสิต รูปแบบ โครงสร้าง และหลักสูตรใหม่ๆ การแสวงหารายได้ การปรับแนวคิด หารายได้จากพท.เช่า ใช้ประโยชน์จาก Knowledge Services การระดมความร่วมมือ จากนิสิตเก่า การจัดการทรัพย์สิน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กระบวนการบริหารยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกระบวนการบริหารยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การปรับเปลี่ยนกลยุทธ์และมาตรการ ให้สอดคล้องกับสภาวการณ์ต่างๆ ยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ของจุฬาฯ แนวทางและมาตรการในการปฏิบัติ พร้อมทั้งตัวชี้วัดผลการดำเนินงานและเป้าหมาย การติดตามและรายงานผล การดำเนินงาน การเชื่อมโยงกับงบประมาณ การดำเนินงานตามมาตรการที่กำหนด จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ยุทธศาสตร์ตามพันธกิจ • กลยุทธ์ที่ 1การเสริมสร้างความแข็งแกร่งทางวิชาการและวิจัย ทั้งใน ศาสตร์เดียวกัน และการบูรณาการระหว่างศาสตร์ • กลยุทธ์ที่ 2การทำให้บัณฑิตของจุฬาฯ มีคุณภาพ และมีเอกลักษณ์ • กลยุทธ์ที่ 3การเพิ่มบทบาทของจุฬาฯ ในสังคมประเทศไทย และนานาชาติ • กลยุทธ์ที่ 4ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ที่ 1 การเสริมสร้างความแข็งแกร่งทางวิชาการและวิจัย ทั้งในศาสตร์เดียวกัน และการบูรณาการระหว่างศาสตร์ • โครงการวิจัยบูรณาการขนาดใหญ่รวมทั้งการสนับสนุน Center of Excellence และ Research Unit อย่างต่อเนื่อง • การพัฒนารูปแบบ โครงสร้าง และหลักสูตรใหม่ๆ เพื่อเสริมสร้างความแข็งแกร่งทางวิชาการ • การพัฒนาระบบการทำงานวิชาการ / วิจัย ร่วมกันระหว่างอาจารย์ต่างศาสตร์ และระหว่างอาจารย์กับนิสิตให้เข้มแข็ง • การกระจายอำนาจและลดขั้นตอนในการบริหารวิชาการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ที่ 2 การทำให้บัณฑิตของจุฬาฯ มีคุณภาพ และมีเอกลักษณ์ • พัฒนาสมรรถนะ (General Competency) และคุณลักษณะพิเศษ (Uniqueness Competency) ของบัณฑิตจุฬาฯ ทั้งในระดับปริญญาบัณฑิต และบัณฑิตศึกษา ด้วยการพัฒนาวิชาและกิจกรรมที่เสริมสร้างสมรรถนะ คุณลักษณะที่พึงมี จรรยาบรรณ และคุณธรรมของนิสิต ความรู้ และความเข้าใจเกี่ยวกับสังคม รวมทั้งการเตรียมความพร้อมสำหรับการทำงานและการเป็นสมาชิกที่มีคุณภาพของสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ที่ 3 การเพิ่มบทบาทของจุฬาฯ ในสังคมประเทศไทย และนานาชาติ • การเพิ่มทางเลือกและการขยายโอกาสทางการศึกษาด้วย Distance Education • การสร้างความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย และยุทธศาสตร์ของประเทศ • การเสริมสร้าง ความเชื่อมโยงระหว่างมหาวิทยาลัย กับ • ชุมชน และท้องถิ่น (Local / CommunityLinkage) • ธุรกิจ และอุตสาหกรรม (Industry Linkage) • ภูมิภาค และนานาชาติ (Regional / Global Linkage) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ที่ 4 ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม • การจัดกิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรมอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ศิลปวัฒนธรรมเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตมหาวิทยาลัย • การดูแล รักษา พัฒนา สถานที่ทรงคุณค่าทางศิลปวัฒนธรรมของจุฬาฯ • การผสมผสานศิลปวัฒนธรรมเข้ากับการเรียนการสอน • การสร้างกลไกให้นิสิตมีส่วนร่วมในกิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรมมากขึ้น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาองค์กรยุทธศาสตร์การพัฒนาองค์กร • กลยุทธ์ที่ 1การสร้างธรรมาภิบาลในการบริหาร • กลยุทธ์ที่ 2การพัฒนาระบบบริหารบุคคล • กลยุทธ์ที่ 3การพัฒนาระบบกายภาพ • กลยุทธ์ที่ 4การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารและการบริหารวิชาการ • กลยุทธ์ที่ 5การประชาสัมพันธ์เชิงรุก • กลยุทธ์ที่ 6การแสวงหารายได้ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ที่ 1 การสร้างธรรมาภิบาลในการบริหาร โดยพัฒนาระบบการบริหารที่คล่องตัว กระจายอำนาจ และตรวจสอบได้ • การพัฒนาระบบสารสนเทศทาง บัญชี การเงิน งบประมาณ ในระบบอิเล็กทรอนิกส์ • การปรับขั้นตอนและกระบวนการในงานบริหารให้กระชับและรวดเร็ว เช่น การบริหารงานพัสดุ การคลัง เป็นต้น • การปรับปรุงกระบวนการและกิจกรรมคุณภาพ และพัฒนาระบบบริหารความเสี่ยง • การนำระบบการบริหารสมัยใหม่ เช่น Business Intelligence และ CU Operation Center มาใช้ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ที่ 2 การพัฒนาระบบบริหารบุคคลของจุฬาฯ ให้สามารถแสวงหา ดูแลรักษา และพัฒนาบุคลากรอย่างมีคุณภาพ • การปรับปรุงระบบพนักงานมหาวิทยาลัย • การพัฒนาระบบบริหารบุคคล เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงในอนาคต • การปรับภาระงานของอาจารย์ที่เอื้อต่อการทำงานระหว่างศาสตร์ และสร้างเสริมการมีส่วนร่วมในการพัฒนานิสิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ที่ 3 การพัฒนาระบบกายภาพ • การปรับระบบกายภาพของมหาวิทยาลัย – คณะ ให้เป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว (Green Campus) • การปรับพื้นที่ของมหาวิทยาลัย เพื่อให้มีพื้นที่รองรับกิจกรรมของนิสิตและบุคลากรมากขึ้น เช่น Student / Learning Center การก่อสร้างอาคารจามจุรี 6 หรือ การสร้าง Learning Center • การปรับระบบการจราจร และที่จอดรถภายในมหาวิทยาลัย • การปรับขั้นตอนและกระบวนการพัฒนาระบบกายภาพของมหาวิทยาลัยและคณะ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ที่ 4 การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ • การพัฒนา ICT Master Plan • การบูรณาการฐานข้อมูลที่มีอยู่ เพื่อสร้าง Single Datawarehouse เช่น ฐานข้อมูลเพื่อบริหารวิชาการ ฐานข้อมูลกายภาพ เป็นต้น • พัฒนา Single Database เพื่อการบริหาร • การพัฒนาระบบเพื่อรองรับ Distance Education จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กลยุทธ์ที่ 5 การประชาสัมพันธ์เชิงรุก • การพัฒนาระบบกลางในการประชาสัมพันธ์สู่ภายนอก • การปรับปรุงระบบการประชาสัมพันธ์ และสื่อสารข้อมูลภายใน • การประชาสัมพันธ์วิชาการและผลงานของมหาวิทยาลัย ทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย • การรักษาภาพลักษณ์ของมหาวิทยาลัยอย่างมีกระบวนการและต่อเนื่อง (Branding) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย