1 / 19

โครงสร้างวัสดุ

บทที่ 4. โครงสร้างวัสดุ. ความไม่สมบูรณ์ผลึก. 0 มิติ : ความบกพร่องแบบจุด (point defect) 1 มิติ : ความบกพร่องแบบเส้น (dislocation) 2 มิติ : ความบกพร่องที่รวมทั้งพื้นผิวภายนอกและขอบเกรนภายใน และยังรวมถึงความบกพร่องขนาดใหญ่ เช่น ฟองอากาศ รอยแตก และการเกาะกลุ่มของสารเจือปน.

ciel
Download Presentation

โครงสร้างวัสดุ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 4 โครงสร้างวัสดุ

  2. ความไม่สมบูรณ์ผลึก • 0 มิติ : ความบกพร่องแบบจุด (point defect) • 1 มิติ : ความบกพร่องแบบเส้น (dislocation) • 2 มิติ : ความบกพร่องที่รวมทั้งพื้นผิวภายนอกและขอบเกรนภายใน และยังรวมถึงความบกพร่องขนาดใหญ่ เช่น ฟองอากาศ รอยแตก และการเกาะกลุ่มของสารเจือปน

  3. ความบกพร่องในลักษณะจุด (Point Defect) ความบกพร่องในลักษณะจุดนั้น เกิดขึ้นเนื่องจากสาเหตุที่สำคัญดังนี้ 1. อนุภาคหายไปจากตำแหน่งที่ควรมี จึงมีที่ว่างเกิดขึ้นเรียกว่าจุดว่าง (Vacancy) 2. มีอนุภาคชนิดอื่นเข้าไปแทรกอยู่ในตำแหน่งที่ควรเป็นที่ว่าง (Interstitial Impurity Atom) 3. อนุภาคชนิดอื่นเข้าไปอยู่แทนที่อนุภาคเดิม (Substitutional Impurity Atom)

  4. Point Defect : Vacancy เป็นความบกพร่องที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของอะตอม (vacancy) เมื่อได้รับพลังงานจากการเผาในกระบวนการผลิต vacancy : เกิดขึ้นเมื่ออะตอมหายไปจากตำแหน่งปกติ มักจะเกิดขึ้นเมื่อผลึกอยู่ในระหว่างการแข็งตัว (solidification) ที่อุณหภูมิสูง ที่อุณหภูมิห้อง จะพบ vacancy น้อย และจะเพิ่มขึ้นเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น โดยเพิ่มขึ้นแบบ exponential http://www.soton.ac.uk/~engmats/xtal/deformation/vacancy.gif

  5. nv= จำนวน vacancy/m3 n = จำนวน lattice point/m3 Q = พลังงานที่ใช้ในการสร้าง vacancy (J/mol) R = gas constance = 8.31 J/mol/K T = Temperature (K) ที่ thermal energy ใกล้เคียงกับ Tm จะทำให้เกิด vacancy 1 vacancy per 1000 lattice point

  6. Point Defect : Interstitial Defect • เกิดเมื่อมี extra atom เข้าไปแทรกอยู่ใน lattice structure • Interstitial atom < atom located at lattice point และ > interstitial site ที่มันเข้าไปอยู่ ซึ่งจะทำให้ lattice ที่อยู่รอบๆ นั้น ถูกอัดและบิดเบี้ยวไป www.soton.ac.uk/.../deformation/introduction.htm

  7. Point Defect : Substitutional Defect • เกิดเมื่ออะตอมถูกแทนที่ด้วยอะตอมอื่น • อยู่ในตำแหน่งเดิม ซึ่งอาจจะมีขนาดใหญ่กว่าอะตอมใน lattice ซึ่งจะทำให้อะตอมรอบๆ ถูกอัด หรือ อาจจะมีขนาดเล็กกว่า ซึ่งจะทำให้อะตอมรอบๆ ถูกดึง ซึ่งการเกิดแบบนี้จะเป็นการรบกวนอะตอมรอบๆ ส่วนใหญ่จะเกิดจากสิ่งเจือปน (impurities) http://www.doitpoms.ac.uk/tlplib/dislocations/images/substitutional-solute.gif www.soton.ac.uk/.../deformation/introduction.htm

  8. Interstitialcy Defect • เกิดเมื่ออะตอมที่เหมือนกัน (อยู่ในตำแหน่งปกติของ lattice point) ไปอยู่ในตำแหน่ง interstitial position • เป็น defect ที่พบบ่อยใน lattice ที่มี low packing factor ความบกพร่องแบบนี้เป็นความบกพร่องที่เกิดจากอิออนเข้าไปอยู่ผิดที่โดยไปแทรกอยู่กับอิออนอื่น ซึ่งไม่ได้อยู่ในตำแหน่งที่ถูกต้องแต่ไป เบียดอยู่กับอิออนอื่น เป็นเหตุให้ตำแหน่งของอิออนในผลึกบางส่วนบิดเบี้ยวไปจากรูปเดิมความบกพร่องของผลึกแบบนี้เกิดขึ้นได้ง่ายมาก โดยเฉพาะอิออนของโลหะหรือเกิดจากผลึกของ ธาตุบางชนิดที่ไม่นำไฟฟ้า แต่เมื่อมีธาตุอื่น เป็นสารปลอมปนอยู่ด้วยกลับทำให้มีสมบัติเป็นสารกึ่งตัวนำ (Semiconductor) ได้

  9. ความบกพร่องแบบเฟรนเคล (Frenkel Defect) Frenkel defect : พบเมื่อ อิออนกระโดดจาก normal lattice point ไปยังตำแหน่ง interstitial site ซึ่งทำให้เกิด vacancy https://www.chemistry.ohio-state.edu/~woodward/ch754/lect2003/ionic_cond_lect26.ppt http://www.gprecision.net/metallurgy-Defect-Crystals.html

  10. ความบกพร่องแบบชอตต์กี (Schottky Defect) ความบกพร่องแบบนี้เป็นความไม่สมบูรณ์ที่เกิดจากอนุภาคที่เป็นอิออน บวกและอิออนลบหายไป เป็นจำนวนเท่า ๆ กัน ความไม่สมบูรณ์แบบ นี้ไม่ได้ทำให้อำนาจไฟฟ้าเกิดการเปลี่ยนแปลงแต่อย่างใด Schottky defect : พบในวัสดุที่ฟอร์มพันธะแบบอิออนิก โดยที่มี anion&cationหายไปจาก lattice เพื่อให้เกิด electrical neutrality มักจะพบในเซรามิก http://www.gprecision.net/metallurgy-Defect-Crystals.html https://www.chemistry.ohio-state.edu/~woodward/ch754/lect2003/ionic_cond_lect26.ppt www.bss.phy.cam.ac.uk/~amd3/teaching/A_Donald...

  11. http://www.doitpoms.ac.uk/tlplib/dislocations/images/raft3.jpghttp://www.doitpoms.ac.uk/tlplib/dislocations/images/raft3.jpg

  12. Dislocation • เป็น linear imperfection มักจะเกิดในผลึกในขณะทีเกิด solidification ของวัสดุ หรือเมื่อวัสดุมีการเปลี่ยนรูป • เกิดในวัสดุทุกชนิด มี 2 แบบ http://www.tf.uni-kiel.de/matwis/amat/def_ge/kap_5/illustr/dislocation_3dim.jpg http://www.siliconfareast.com/screwdislocation.jpg

  13. Screw Dislocation ข้อบกพร่องเชิงเส้นของผลึกซึ่งมีเบอร์เกอร์สเวกเตอร์ขนานกับแนวเส้นของดิสโลเคชัน http://www.material.science.sudeshnapaul.com/screw_dislocation.gif

  14. Edge Dislocation www.klingereducational.com/index.php?p=produc...

  15. http://courses.eas.ualberta.ca/eas421/diagramspublic/bergerslarge.gifhttp://courses.eas.ualberta.ca/eas421/diagramspublic/bergerslarge.gif

  16. http://www.roymech.co.uk/images10/mixed_dislocations.gif http://www.bss.phy.cam.ac.uk/~amd3/teaching/A_Donald/Crystalline_Solids_1.htm

  17. ทิศทางที่ dislocation ขยับไป = slip direction ซึ่งเป็นทิศทางของ Burgers vector ของ Edge dislocations www.ic.arizona.edu/.../disclocation.html

  18. www.tf.uni-kiel.de/.../backbone/r5_1_3.html

  19. Surface defect http://www.scielo.br/img/revistas/mr/v6n2/16034f4.gif www.cartage.org.lb/.../Crystalline.htm

More Related