1.29k likes | 1.92k Views
การสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ตามแนวทางการทดสอบระดับชาติและนานาชาติ. ดร. ชนาธิป ทุ้ยแป สำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ. การประเมินในระบบการศึกษาไทย. PISA & TIMSS. การประเมินระดับนานาชาติ. การประเมินระดับชาติ. ONET & NT. การประเมินระดับเขตพื้นที่. LAS. การประเมินระดับสถานศึกษา.
E N D
การสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ตามแนวทางการทดสอบระดับชาติและนานาชาติ ดร.ชนาธิป ทุ้ยแปสำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
การประเมินในระบบการศึกษาไทยการประเมินในระบบการศึกษาไทย PISA & TIMSS การประเมินระดับนานาชาติ การประเมินระดับชาติ ONET & NT การประเมินระดับเขตพื้นที่ LAS การประเมินระดับสถานศึกษา การประเมินภายใน&ภายนอก การทดสอบในชั้นเรียน ตามมาตรฐานและตัวชี้วัด การทดสอบระดับชั้นเรียน
ประเมินทุก 3 ปี OECD การอ่าน PISA 65 ประเทศ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เขตเศรษฐกิจ นร.อายุ 15 ปี
การสอบ PISA 2015 เป็นการสอบที่นักเรียนต้องทำแบบทดสอบโดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์
ลักษณะการตอบคำถามโดยใช้คอมพิวเตอร์ในการสอบลักษณะการตอบคำถามโดยใช้คอมพิวเตอร์ในการสอบ ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์จึงเป็นสิ่งจำเป็นในการทำแบบทดสอบของ PISA 2015 พิมพ์คำตอบ คลิกเลือกคำตอบ ใช้เมาส์ลากและวางคำตอบ คลิกเลือกคำตอบ
การทดสอบระดับนานาชาติ (PISA) กับ การทดสอบในชั้นเรียน (Classroom Assessment) ในปัจจุบัน - ข้อสอบเลือกตอบ - ข้อสอบเขียนตอบ การทดสอบระดับนานาชาติ (PISA) Free content Based assessment (เนื้อหาทั่วไป) - ข้อสอบเลือกตอบ การทดสอบระดับชั้นเรียน(Classroom) content Based assessment (เนื้อหาตามตัวชี้วัด)
ข้อสอบกลางที่ใช้เป็นข้อสอบปลายภาค/ปลายปีข้อสอบกลางที่ใช้เป็นข้อสอบปลายภาค/ปลายปี ปีที่เริ่มใช้ ปีการศึกษา 2557 ระดับชั้น ป.2, 4-5 และ ม.1-2 ภาษาไทย ป.2 กลุ่มสาระ ป.4-5 ภาษาไทย / คณิตศาสตร์ / วิทยาศาสตร์ ภาษาไทย / คณิตศาสตร์ / วิทยาศาสตร์ / สังคมศึกษาฯ / ภาษาต่างประเทศ ม.1-2
ระบบการวัดและประเมินผลในระดับสถานศึกษาโดยใช้ข้อสอบกลางระบบการวัดและประเมินผลในระดับสถานศึกษาโดยใช้ข้อสอบกลาง คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนที่ใช้ในการตัดสินผลการเรียน คะแนนเก็บระหว่างภาคเรียน คะแนนสอบปลายภาค - คะแนนจิตพิสัย - คะแนนสอบท้ายบท/กลางภาค - คะแนนตรวจงาน/โครงการ - คะแนนสอบภาคปฏิบัติ ฯลฯ ข้อสอบกลาง (สพฐ.) (20 %) ข้อสอบของโรงเรียน/ เขตพื้นที่ (80 %)
O (objective) มาตรฐานการเรียนรู้ สอดคล้อง สอดคล้อง L (Learning) การจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน E (Evaluation) การประเมินอิงมาตรฐานการเรียนรู้ สอดคล้อง
องค์ประกอบที่ 1เป้าหมายการเรียนรู้ (Objective)
มาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร ตัวชี้วัด1 ความรู้(knowledge: K) ตัวชี้วัด2 ทักษะกระบวนการ(process skill: P) มาตรฐาน1 ตัวชี้วัด3 ตัวชี้วัด4 คุณลักษณะ(Attribute: A) หลักสูตร มาตรฐาน2 มาตรฐาน3
มฐ. ท 1.1ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน • อ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว และบทร้อยกรองได้ถูกต้องเหมาะสมกับเรื่องที่อ่าน • จับใจความสำคัญจากเรื่องที่อ่าน • ระบุเหตุและผล และข้อเท็จจริงกับข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน • .............. • มีมารยาทในการอ่าน ภาษาไทย ม.1
มาตรฐาน ต ๑.๑ เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่างๆ และแสดงความคิดเห็น อย่างมีเหตุผล • ปฏิบัติตามคำสั่ง คำขอร้อง คำแนะนำ และคำชี้แจงง่ายๆ ที่ฟังและอ่าน • อ่านออกเสียงข้อความ นิทาน และบทร้อยกรอง (poem) สั้นๆ ถูกต้องตาม หลักการอ่าน • เลือก/ระบุประโยคและข้อความให้สัมพันธ์กับสื่อที่ไม่ใช่ความเรียง (non-text information) ที่อ่าน • .......... อังกฤษ ม.1
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่างๆทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ • ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา • ใช้ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม • ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม • ......... คณิต ม.1-3
องค์ประกอบที่ 2การจัดการเรียนรู้ (Learning)
การจัดทำหน่วยการเรียนรู้การจัดทำหน่วยการเรียนรู้
หลักสูตรเดิม มาตรฐาน/ตัวชี้วัด จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ มาตรฐาน/ตัวชี้วัด จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม มาตรฐาน/ตัวชี้วัด แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ เป้าหมายในการจัดการเรียนรู้ของแต่ละแผน เป้าหมายในการจัดการเรียนรู้ของแต่ละแผน เน้น เน้น เนื้อหา มฐ./ตัวชี้วัด แผนการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ หลักสูตร 51
ลักษณะพฤติกรรม ของมาตรฐานและตัวชี้วัด • - ความรู้ • - ทักษะกระบวนการ • - คุณลักษณะอันพึงประสงค์ การจัด การเรียนรู้ ในแต่ละ หน่วยการเรียนรู้ สอดคล้อง
องค์ประกอบที่ 3การวัดและประเมินผล (Evaluation)
ขั้นตอนการสร้างข้อสอบขั้นตอนการสร้างข้อสอบ กำหนดกรอบในการประเมิน วิเคราะห์มาตรฐาน แผนผังแบบสอบ การวิเคราะห์คุณภาพข้อสอบ/แบบสอบ นำข้อสอบทดลองใช้ เขียนข้อสอบ ปรับปรุง/บรรณาธิการกิจ ข้อสอบ/แบบสอบ ตรวจสอบ ความตรงเชิงเนื้อหา การตรวจสอบภาษา/ ความถูกต้องตามหลักการวัดผล นำข้อสอบไปใช้/ เก็บเข้าคลังข้อสอบ
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดเพื่อการวัดและประเมินผลในชั้นเรียนการวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดเพื่อการวัดและประเมินผลในชั้นเรียน
มาตรฐาน ค ๑.๑ เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจำนวนและการใช้จำนวนในชีวิตจริง ตัวชี้วัด เปรียบเทียบและเรียงลำดับเศษส่วนและทศนิยมไม่เกินสามตำแหน่ง สถานการณ์ หรือ บริบทเนื้อหา คำสำคัญ (key word) หรือ พฤติกรรมที่ต้องการแสดง
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรการวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร ตัวชี้วัด1 ความรู้(knowledge: K) ตัวชี้วัด2 ทักษะกระบวนการ(process skill: P) มาตรฐาน1 ตัวชี้วัด3 ตัวชี้วัด4 คุณลักษณะ(Attribute: A) หลักสูตร มาตรฐาน2 มาตรฐาน3
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร(เพื่อการประเมินผลการเรียนรู้)การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร(เพื่อการประเมินผลการเรียนรู้) มาตรฐาน ท1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพื่อนำไปใช้ในการตัดสินใจ แก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน
การกำหนดกรอบในการประเมิน(การกำหนดวิธีการและเครื่องมือที่เหมาะสมกับสิ่งที่ต้องการวัด)การกำหนดกรอบในการประเมิน(การกำหนดวิธีการและเครื่องมือที่เหมาะสมกับสิ่งที่ต้องการวัด)
วิธีการวัดและประเมินผลผู้เรียนวิธีการวัดและประเมินผลผู้เรียน ความรู้หรือความสามารถทางสมอง (Knowledge) -การทดสอบแบบปรนัย -การทดสอบแบบอัตนัย -การตรวจสอบผลงาน -การตรวจการบ้าน -การสัมภาษณ์ -แฟ้มสะสมงาน ฯลฯ ทักษะกระบวนการ(Process Skill) คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เช่น ความมีวินัย ความซื่อสัตย์ การใฝ่รู้ใฝ่เรียน เป็นต้น(Attribute)
วิธีการวัดและประเมินผลผู้เรียนวิธีการวัดและประเมินผลผู้เรียน ความรู้หรือความสามารถทางสมอง (Knowledge) -การทดสอบภาคปฏิบัติ -การสังเกต -การสัมภาษณ์ -แฟ้มสะสมงาน ฯลฯ ทักษะกระบวนการ(Process Skill) คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เช่น ความมีวินัย ความซื่อสัตย์ การใฝ่รู้ใฝ่เรียน เป็นต้น(Attribute)
วิธีการวัดและประเมินผลผู้เรียนวิธีการวัดและประเมินผลผู้เรียน ความรู้หรือความสามารถทางสมอง (Knowledge) -การรายงานตนเอง -การสังเกต -การสัมภาษณ์ -การสนทนากลุ่ม/สังคมมิติ -การทดสอบภาคปฏิบัติ -การตรวจสอบประวัติ -แฟ้มสะสมงาน ฯลฯ ทักษะกระบวนการ(Process Skill) คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เช่น ความมีวินัย ความซื่อสัตย์ การใฝ่รู้ใฝ่เรียน เป็นต้น(Attribute)
วิธีการวัดและประเมินผลผู้เรียน (แบบทดสอบ) ความรู้หรือความสามารถทางสมอง (Knowledge) องค์ความรู้ตามตัวชี้วัด ถาม ถาม ถาม ทักษะกระบวนการ(Process Skill) ขั้นตอน/วิธีการ/หลักการ/กระบวนการตามตัวชี้วัด คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เช่น ความมีวินัย ความซื่อสัตย์ การใฝ่รู้ใฝ่เรียน เป็นต้น (Attribute) พฤติกรรมที่แสดงออก ตามตัวชี้วัด
การทดสอบ • การสัมภาษณ์ • การสังเกตพฤติกรรม • การตรวจชิ้นงาน • ฯลฯ วิธีการในการวัด และประเมินผล วิธีการและเครื่องมือในการวัดและประเมินผล • แบบทดสอบ • แบบสัมภาษณ์ • แบบสังเกตพฤติกรรม • แบบบันทึกผลการตรวจชิ้นงาน • ฯลฯ เครื่องมือในการวัดและประเมินผล
การกำหนดกรอบในการประเมิน(การเลือกรูปแบบข้อสอบที่เหมาะสมกับสิ่งที่ต้องการวัด)การกำหนดกรอบในการประเมิน(การเลือกรูปแบบข้อสอบที่เหมาะสมกับสิ่งที่ต้องการวัด)
รูปแบบข้อสอบวัดผลสัมฤทธิ์- แบบเลือกตอบ- แบบเขียนตอบ
คำตอบเดียว หลายคำตอบ เชิงซ้อน กลุ่มคำตอบสัมพันธ์ เลือกตอบ ตัวชี้วัด เขียนตอบ แบบจำกัดคำตอบหรือตอบสั้น แบบขยายคำตอบหรือตอบอย่างอิสระ
การจำ (Remembering) ผู้เรียนสามารถจำ บอกซ้ำได้และบอกความรู้ที่ได้เรียนรู้แล้วได้
ตัวอย่างของคำถามที่แสดงถึงพฤติกรรมระดับจำมีดังนี้ตัวอย่างของคำถามที่แสดงถึงพฤติกรรมระดับจำมีดังนี้
ความเข้าใจ (Understanding) ผู้เรียนอธิบายความหมายของสารสนเทศ โดยการแปลความ ตีความหมาย และขยายความ สิ่งที่เคยเรียน
ตัวอย่างของคำถามที่แสดงถึงพฤติกรรมระดับเข้าใจมีดังนี้ตัวอย่างของคำถามที่แสดงถึงพฤติกรรมระดับเข้าใจมีดังนี้
การประยุกต์ใช้ (Applying) นักเรียนใช้ความรู้และประสบการณ์จากที่เคยเรียนมาก่อนไปใช้ในการ ลงมือปฏิบัติหรือแก้ไขปัญหา การจัดการ การคำนวณ การคาดคะเนเหตุการณ์
ตัวอย่างของคำถามที่แสดงถึงพฤติกรรมระดับประยุกต์ใช้มีดังนี้ตัวอย่างของคำถามที่แสดงถึงพฤติกรรมระดับประยุกต์ใช้มีดังนี้
การวิเคราะห์ (Analysing) ผู้เรียนย่อยความรู้หรือข้อมูลสารสนเทศออกเป็นส่วนย่อย ๆ เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับข้อมูลสารสนเทศนั้นอย่างลึกซึ้ง
ตัวอย่างของคำถามที่แสดงถึงพฤติกรรมระดับวิเคราะห์มีดังนี้ตัวอย่างของคำถามที่แสดงถึงพฤติกรรมระดับวิเคราะห์มีดังนี้
การประเมินค่า (evaluating) ผู้เรียนสามารถตรวจสอบ อภิปรายตัดสินใจ วิพากษ์วิจารณ์ คัดเลือก หรือประเมินค่าอย่างสมเหตุสมผลและน่าเชื่อถือ
ตัวอย่างของคำถามที่แสดงถึงพฤติกรรมระดับประเมินค่ามีดังนี้ตัวอย่างของคำถามที่แสดงถึงพฤติกรรมระดับประเมินค่ามีดังนี้
การสร้างสรรค์ (Creating) ผู้เรียนสามารถออกแบบ (Design) วางแผน ผลิต ประดิษฐ์ พยากรณ์ ทำนาย สร้างสูตร จินตนาการสิ่งใหม่ๆ โดยใช้ประสบการณ์เดิมเป็นฐานคิด
ตัวอย่างของคำถามที่แสดงถึงพฤติกรรมระดับคิดสร้างสรรค์มีดังนี้ตัวอย่างของคำถามที่แสดงถึงพฤติกรรมระดับคิดสร้างสรรค์มีดังนี้
ข้อสอบเขียนตอบ ข้อสอบเลือกตอบ
1. แบบคำตอบเดียว (multiple choice) เป็นลักษณะข้อสอบเลือกตอบ ที่มีคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว