340 likes | 845 Views
ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว. ตำบล เกาะขวาง อำเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี. ข้อมูลประชากร. จำนวนหลังคาเรือน 5,342 หลังคาเรือน. จำนวน ประชากร 13,473 คน. จำนวนหมู่บ้าน 9 หมู่บ้าน. จำนวนวัด 5 วัด.
E N D
ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัวตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว ตำบลเกาะขวาง อำเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี
ข้อมูลประชากร จำนวนหลังคาเรือน 5,342 หลังคาเรือน จำนวนประชากร 13,473 คน จำนวนหมู่บ้าน 9 หมู่บ้าน จำนวนวัด 5 วัด จำนวนรร. 3 รร. เทศบาล 1 แห่ง รพสต. 1 แห่ง
วิธีการดำเนินงาน ตำบลนมแม่ เครื่องมือ แผนที่เดินดิน แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ และการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม การมีส่วนร่วมในทุกขั้นตอน ดังนี้ ๑ การกำหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ๒ ขั้นตอนการดำเนินงาน ๓ การเก็บรวบรวมข้อมูล ๔ การจัดกระทำและการวิเคราะห์ข้อมูล
ประชากรและกลุ่มตัวอย่างประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร หมายถึง ประชาชนทั้ง ๙ หมู่ กลุ่มตัวอย่าง หมายถึง หญิงตั้งครรภ์และแม่หลังคลอดและสามี เด็กแรกเกิดถึง ๕ ปีและผู้ปกครองเด็กแรกเกิดถึง ๕ ปี อสม. แกนนำชุมชน และสมาชิกสายใยรักแห่งครอบครัว ผู้ร่วมขับเคลื่อน ประกอบด้วย • นายกเทศมนตรี,เจ้าหน้าที่สาธารณสุขเทศบาลตำบลเกาะขวาง,เกษตรตำบล, • ตัวแทนโรงเรียน,พัฒนาชุมชน,แกนนำและผู้นำชุมชน,อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน โรงพยาบาลพระปกเกล้าจังหวัดจันทบุรี และสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด
ขั้นตอนการดำเนินงาน สร้างแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (Strategic Route Map : SRM)
การเก็บรวบรวมข้อมูล • ๑ แหล่งของข้อมูล คือ หญิงตั้งครรภ์ แม่หลังคลอดที่เลี้ยงลูกด้วย • นมแม่ และแม่อาสา • ๒ เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินงาน ประกอบด้วย ๒.๑ แบบสำรวจครอบครัว ๒.๒ การเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ จากแบบสำรวจครอบครัว การเยี่ยมบ้าน การติดตาม และประเมินผลการดำเนินงาน การแสดงความคิดเห็นจากกิจกรรมหรืองานที่ดำเนินการ
การจัดทำและวิเคราะห์ข้อมูลการจัดทำและวิเคราะห์ข้อมูล • ๑.ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative data) • -ใช้การวิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis) • ๒.ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative data) • -เมื่อได้สำรวจแล้วตรวจดูความครบถ้วนและสมบูรณ์ • ของแบบสำรวจ ได้แก่ การตอบให้ครบทุกข้อ • สถิติที่ใช้ คือ จำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย
สู่จุดหมายปลายทาง “ตำบลเกาะขวาง” ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว
๑. คณะกรรมการดำเนินงานตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว ๒. คณะกรรมการดำเนินงานตำบลนมแม่ระดับหมู่บ้าน
๓. ข้อตกลงร่วมกันของชาวบ้านตำบลเกาะขวาง ข้อ ๑.รณรงค์ป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร ข้อ ๒.หญิงตั้งครรภ์ทุกคนต้องฝากท้องก่อน ๑๒ สัปดาห์ ข้อ ๓. แม่ทุกคนต้องเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย ๖ เดือน ข้อ ๔. ศูนย์ช่วยเหลือนมแม่ให้บริการ ๒๔ ชั่วโมง ข้อ ๕. ส่งเสริมอาชีพให้กับหญิงตั้งครรภ์และแม่หลังคลอด ข้อ ๖. มีและใช้แผนชุมชนตำบลนมแม่ในการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง
๔. การพัฒนาความรู้และทักษะให้กับบุคลากร ๔.๑ การอบรมให้ความรู้กับแกนนำแม่อาสาฯ และ อสม.เชี่ยวชาญนมแม่ ๔.๒ อบรมครู ผู้ปกครองเด็กและนักเรียน ในโรงเรียน ๔.๓ อบรมให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และหลังคลอดในชุมชน ๕. การจัดระบบข้อมูล -ทบทวน สำรวจ ศูนย์ประสานงาน เวปไซต์
๖. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการประชาสัมพันธ์ ๖.๑ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกลุ่มเครือข่าย ๖.๒ จัดรายการเสียงตามสายและวิทยุชุมชนเดินรณรงค์ สร้างกระแสนมแม่ ๖.๓ จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้
๗. ภาคีเครือข่ายร่วมสนับสนุนขับเคลื่อนตำบลนมแม่ ๗.๑ เกษตรตำบลร่วมกิจกรรมการเยี่ยมบ้านกลุ่มเป้าหมาย
๗.๒ โรงเรียนบรรจุหลักสูตรการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ไว้ในแผนการเรียนการสอน
๗.๓ กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลเกาะขวาง ๗.๔ กลุ่มดนตรีไทยในชุมชน
การส่งเสริมอาชีพเพื่อสร้างรายได้ให้กับครอบครัวการส่งเสริมอาชีพเพื่อสร้างรายได้ให้กับครอบครัว • หญิงหลังคลอดตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
๙. ปราชญ์นมแม่และภูมิปัญญาท้องถิ่น
๑๐. การดำเนินงานของชมรมแม่อาสานมแม่ ตำบลเกาะขวาง การแก้ปัญหาที่ประสบความสำเร็จ ๑.การแก้ปัญหาหัวนม ๒.การแก้ปัญหาช่อน้ำนม ๓.แนะนำให้ความรู้ ๔.ศูนย์การเรียนรู้นมแม่ในชุมชน
๑๑. การคัดเลือกบ้านตัวอย่างและแม่ต้นแบบ ๑. เป็นแม่ที่มีอายุ ๒๐ ปีขึ้นไป ที่มีบุตรอายุแรกเกิด – ๒ ปี เลี้ยงลูกด้วยนมแม่และอาหารตามวัย ๒. เป็นบ้านตัวอย่างเกษตรสมบูรณ์ ๓. เป็นครอบครัวที่อบอุ่น
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ ๑.การมีส่วนร่วมอย่างเข้มแข็งของภาคีเครือข่าย ๒.ชมรมอาสานมแม่ ปัญหาและอุปสรรค ๑.มารดาอายุครรภ์น้อยกว่า ๒๐ ปี พบเกินเป้าหมาย ๒.การเตรียมความพร้อมในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
ภาพความประทับใจ ๑๒ มิถุนายน ๒๕๕๕
จบการนำเสนอ......ขอบคุณค่ะจบการนำเสนอ......ขอบคุณค่ะ