310 likes | 918 Views
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จุดเปลี่ยนระบบบริการสุขภาพไทย :. นพ. ศุภกิจ ศิริลักษณ์ พบ., อว., MPHM. ผู้อำนวยการสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ konc62@yahoo.com. นโยบายรัฐบาล นายกอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ.
E N D
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลจุดเปลี่ยนระบบบริการสุขภาพไทย:โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลจุดเปลี่ยนระบบบริการสุขภาพไทย: นพ. ศุภกิจ ศิริลักษณ์ พบ., อว., MPHM. ผู้อำนวยการสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ konc62@yahoo.com
นโยบายรัฐบาล นายกอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ข้อ 3.3.1 สนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ / ลดปัจจัยเสี่ยง / ประสานร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ อาสาสมัครสาธารณสุข, ชุมชน, ท้องถิ่น รณรงค์ให้เกิดการพัฒนาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอนามัย ข้อ 3.3.3 ปรับปรุงบริการด้านสาธารณสุข .............ยกระดับสถานีอนามัยเป็น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระบบบริการสุขภาพของไทยระบบบริการสุขภาพของไทย ศูนย์แพทย์เฉพาะทาง โรงพยาบาลศูนย์/ทั่วไป (94) บริการตติยภูมิจังหวัด ( 200,000-2M.) โรงพยาบาลชุมชน (724) บริการทุติยภูมิอำเภอ (10,000-100,000) PCU ศสมช สาธารณสุขมูลฐานหมู่บ้าน (80,000) สถานีอนามัย (9,770) บริการปฐมภูมิตำบล (1,000-10,000) SELF CAREครอบครัว
แนวคิดรพ.สต. • ระบบบริการปฐมภูมิ (เชิงรุก, Home ward,พื้นที่ทั้งตำบลเป็นที่ทำงาน, คุณภาพ) • การสาธารณสุขมูลฐานและอาสาสมัครสาธารณสุข (สหสาขา, skill mixed, team work) • กระจายอำนาจ (ทุกภาคีมีส่วนร่วม, networking)
นิยามโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนิยามโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล หน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมิที่มีพื้นที่รับผิดชอบในระดับตำบล เน้นบริการเชิงรุกด้าน ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคในระดับบุคคล ครอบครัว, ชุมชน และสิ่งแวดล้อม พร้อมกับมีความสามารถในการให้บริการรักษาพยาบาลและการฟื้นฟูสมรรถภาพเพิ่มขึ้น โดยเป็นเครือข่ายกับโรงพยาบาลชุมชน หรือ โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป และสามารถส่งต่อผู้ป่วยได้อย่างเหมาะสม 5
บุคคล ครอบครัว ชุมชน สิ่งแวดล้อม ส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟู เชื่อมโยง เชิงรุก ชุมชน เด็ก สตรี สังคม สูงอายุ ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม ปัญญา พิการ/ด้อยโอกาส เข้าถึง องค์รวม ประสาน ต่อเนื่อง ชุมชน จิต โรคเรื้อรัง กาย วัยรุ่น/เยาวชน กลุ่มประชากรเป้าหมาย/แนวคิด/มิติสุขภาพ
กลไก / หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • กระทรวงสาธารณสุข (ระบบบริการสาธารณสุข,คน,เงิน,ของ) • สปสช. (งบดำเนินการ/งบลงทุนทดแทน) • สสส. (สร้างเสริมสุขภาพ / การสื่อสารสาธารณะ) • สวรส. (วิจัยและพัฒนา) • สช. (สมัชชาสุขภาพ เฉพาะพื้นที่และประเด็น) • อปท. (กระจายอำนาจ / กองทุนสุขภาพตำบล)
กลไกการบริหาร • คณะกรรมการอำนวยการ รพ.สต. (รมว. ประธาน / รองปลัด เลขา) • คณะกรรมการดำเนินงาน รพ.สต. (รองปลัด ประธาน / ผอ.สนย. เลขา)
การดำเนินงานที่ผ่านมา • ชี้แจงนโยบาย 4ภาค • ประกาศนโยบาย รพ.สต. 4 กันยายน 52 (นายกฯ / MOU) • ปี 52 ดำเนินการ 1,000 แห่ง สปสช. สนับสนุน 200,000 บาท/แห่ง เตรียมความพร้อมเพื่อปรับรูปแบบบริการ • พรก 53 2,000 แห่ง พรบ 54 7,770 แห่ง
รูปแบบ รพ สต พื้นที่ ลักษณะรพ.สต.
รพ.สต. แตกต่าง จาก สอ.อย่างไร • เพิ่มคุณภาพบริการ (พยาบาลเวชปฏิบัติ/แพทย์หมุนเวียน) • เชื่อมโยงกับ รพ.แม่ข่าย ได้รับการสนับสนุนอย่างชัดเจน (บุคลากร/รักษาพยาบาล/ยา เวชภัณฑ์/การส่งต่อ/งบประมาณ) • ทำงานเชิงรุก ในกลุ่มประชากรพิเศษ • ผป.โรคเรื้อรัง เด็ก ผู้พิการ ผู้สูงอายุ ผป.จิตเวช • เยี่ยมบ้าน (Home ward, Home visit) • แก้ปัญหาสุขภาพเชิงรุก (ชมรมต่างๆ) • ชุมชน (การบริหารจัดการ อสม. ชมรมออกกำลังกาย) • ครอบครัว (แกนนำสุขภาพประจำครอบครัว : กสค.)
บุคลากร • จำนวนขั้นต่ำ เดี่ยว 4 (1+3) เครือข่าย (1+6) ; 1:1,250 • ปรับย้ายกำลังคน (โยกย้ายภายใน/ชดเชยกำลังคน) • สรรหาบุคลากรใหม่ • ตำแหน่งข้าราชการ • ระบบจ้างงานใหม่ (ระเบียบใหม่,สิทธิประโยชน์,สัญญาจ้าง) • เพิ่มศักยภาพของบุคลากร (อบรม,ศึกษาต่อ,ผลิตใหม่) • ผลิตเพิ่ม (ทำแผนระยะกลาง) • อสม./ลูกจ้าง ในไทยเข้มแข็งเพิ่มการผลิตและพัฒนาบุคลากร
การเงินการคลัง : งบดำเนินงาน • งบเหมาจ่ายรายหัว และงบเพิ่มเติมจาก สปสช. • งบประมาณสนับสนุนจากท้องถิ่น • งบส่งเสริมสุขภาพพื้นที่ (P&P area based) • กองทุนสุขภาพตำบล • เงินบริจาค P&P = Promotion and Prevention
การเงินการคลัง : งบลงทุน • งบลงทุนทดแทน UC ส่วนกลาง ประมาณ 500 ล้าน • งบลงทุนทดแทน UC เขต/จังหวัด/อำเภอ • งบประมาณปี 54 • งบไทยเข้มแข็ง (พรก)
งบไทยเข้มแข็ง (พรก 53) ปฐมภูมิ 1,490 ลบ
มาตรฐานขั้นต่ำของ รพ.สต. 1. การรักษาพยาบาล พยาบาลเวชปฏิบัติ/พยาบาลวิชาชีพ ปรึกษาทางไกลกับ รพ.แม่ข่าย ระบบส่งต่อ (ไป/กลับ) 2. การส่งเสริมสุขภาพ ระดับบุคคล การเยี่ยมบ้าน ข้อมูลประจำครอบครัว (Family Folder) ระดับครอบครัว แกนนำสุขภาพประจำครอบครัว
มาตรฐานขั้นต่ำของ รพ.สต. (ต่อ) 2. การส่งเสริมสุขภาพ (ต่อ) ระดับชุมชน รณรงค์ประจำสัปดาห์ (อาหาร, ออกกำลังกาย) รณรงค์ตามปฏิทินสาธารณสุข สนับสนุนให้มีนวัตกรรมการส่งเสริมสุขภาพ 3. ระบบสนับสนุน จาก รพ.แม่ข่าย บุคลากร ระบบการรักษาพยาบาลปรึกษาทางไกล ระบบข้อมูลสารสนเทศ ระบบยาและเวชภัณฑ์
มาตรฐานขั้นต่ำของ รพ.สต. (ต่อ) 3. ระบบสนับสนุน จาก รพ.แม่ข่าย ระบบส่งต่อ (ไป/กลับ) วิชาการ งบประมาณ 4. การบริหารงาน คณะกรรมการพัฒนา รพ.สต. ประชาคมเพื่อแก้ปัญหาในพื้นที่เฉพาะ
ประชาชนได้อะไร อย่างเป็นรูปธรรม • ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค คัดกรองโรคเรื้อรัง (ค้นหาเร็ว รักษาง่าย ประหยัด) เด็ก ได้รับวัคซีน / พัฒนาการสมวัยทั้งกายและจิตใจ สตรี ได้รับการคัดกรอง ดูแล ครบถ้วน ผู้สูงอายุ / ผู้พิการ /ผู้ป่วยจิตเวช (ได้รับการดูแลตามสิทธิ, ญาติได้รับการอบรม) ผู้ป่วยพักฟื้น ได้รับการเยี่ยมบ้าน ญาติได้รับการอบรม (หายป่วยเร็วขึ้น การดูแลมีคุณภาพมากขึ้น ลด คชจ.)
ประชาชนได้อะไร อย่างเป็นรูปธรรม • รักษาพยาบาลมีคุณภาพเพิ่มขึ้น ยา เวชภัณฑ์ เหมือน รพ. (ผป.บางรายไม่ต้องเดินทางไปรับยาที่ รพ.) การรักษาบางโรคใช้ การปรึกษาทางไกล (เดินทางน้อยลง/ประหยัดมากขึ้น) ระบบส่งต่อไป/กลับ รพ.แม่ข่าย (ลดค่าใช้จ่ายของ ปชช.) เจ็บป่วย ฉุกเฉิน มีรถรับส่งอย่างรวดเร็ว (เข้าถึงบริการ/อัตราตายน้อยลง)
ประชาชนได้อะไร อย่างเป็นรูปธรรม • การสาธารณสุขมูลฐาน ประชาชนมีส่วนร่วมในการดูแลและแก้ปัญหาสุขภาพของพื้นที่ (ปชช. / ชุมชน / อบต.) อสม. และจิตอาสา ร่วมการสร้างสุขภาพ ปชช. สามารถดูแล/รักษาพยาบาลเบื้องต้น ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของปชช. อย่างยั่งยืน
ประชาชนได้อะไร ในระยะยาว ความครอบคลุม (coverage) ของบริการขั้นพื้นฐานเพิ่มขึ้น การให้วัคซีน การฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์มาตรฐาน อื่นๆ การเข้าถึงบริการสุขภาพในระดับตำบลดีขึ้น ลดความแออัดของโรงพยาบาลแม่ข่ายลง จำนวนผู้ป่วย ข้ามจากตำบลมาโรงพยาบาลอำเภอ/จังหวัดลดลง การนอนโรงพยาบาลจากโรคแทรกซ้อนหรือโรคป้องกันได้ลดลง คุณภาพชีวิต (Quality of life) ของประชาชนดีขึ้น อัตราทารกตายและ แม่ตายลดลง อัตราป่วย/ตายโรคสำคัญลดลง 22
ปัญหาอุปสรรค ส่วนกลาง เป้าหมาย และการสนับสนุน (กฎระเบียบ, การเงินการคลัง, ความก้าวหน้า) เชิงโครงสร้าง (หน่วยงานที่รับผิดชอบ) การสื่อสารกับส่วนภูมิภาค / การสื่อสารสาธารณะ งบประมาณสนับสนุน รพ.สต. ส่วนภูมิภาค กำลังคน การพัฒนาศักยภาพ เพื่อปรับเปลี่ยนบทบาท