1 / 42

สันติวิธีและสมานฉันท์เชิงพุทธ

สันติวิธีและสมานฉันท์เชิงพุทธ. พระครูปริยัติกิจวิบูล. บทนำ.

Download Presentation

สันติวิธีและสมานฉันท์เชิงพุทธ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สันติวิธีและสมานฉันท์เชิงพุทธสันติวิธีและสมานฉันท์เชิงพุทธ พระครูปริยัติกิจวิบูล

  2. บทนำ • คือวิธีการจัดการกับความขัดแย้งวิธีหนึ่ง การใช้สันติวิธีมีเหตุผลสำคัญตรงที่ว่า เป็นวิธีการที่น่าจะมีการสูญเสียน้อยที่สุด ทั้งระยะสั้นระยะยาว ทั้งรูปธรรมและนามธรรม ผิดกับการใช้ความรุนแรง ซึ่งทุกฝ่ายอ้างว่าเป็นวิธีการสุดท้าย ซึ่งบางกรณีสามารถบรรลุผลในระยะสั้นเป็นรูปธรรมชัดเจน แต่หากความขัดแย้งดำรงอยู่เพียงแต่ถูกกดไว้ • ลักษณะสำคัญของสันติวิธีคือ ไม่ใช่วิธีที่เฉื่อยชาหรือยอมจำนน หากเป็นวิธีที่ขันแข็งและต้องใช้ความคิดสร้างสรรค์ ไม่ใช่ยุทธวิธีที่เลือกใช้ในบางโอกาส หากเป็นยุทธศาสตร์ที่ปฏิบัติได้อย่าสม่ำเสมอ เป็นสัจธรรมที่น่าเชื่อถือไม่ใช่วิธีที่ดีในเชิงกระบวนการเท่านั้น หากเป็นวิธีที่หวังผลที่กลมกลืนกับวิธีการด้วย

  3. สาเหตุที่ต้องนำสันติวิธีมาแก้ไขความขัดแย้งสาเหตุที่ต้องนำสันติวิธีมาแก้ไขความขัดแย้ง • เราน่าจะใช้สันติวิธีเพื่อจัดการความขัดแย้งใน 3 วิธี ด้วยกันคือ- ป้องกันไม่ให้เกิดความขัดแย้ง • แก้ไขความขัดแย้ง เมื่อเกิดความขัดแย้งขึ้น คู่กรณีมักคิดว่าตนถูก และ อีกฝ่ายผิด • เยียวยาหรือติดตามผลความขัดแย้งเยียวยาผู้แพ้ด้วยความใจกว้างของผู้ชนะ หรือ การเยียวยาซึ่งกันและกัน

  4. ตารางที่ 1 กระบวนการตัดสินใจแก้ปัญหาข้อพิพาทและผลแห่งการตัดสินใจ

  5. สันติวิธีคืออะไร • หมายถึงการไม่ใช้ความรุนแรง การไม่ด่า การเจรจา การขอโทษ และการให้อภัย • Conflict Management การบริหารจัดการความขัดแย้ง • Conflict Transformation กระบวนการปรับเปลี่ยนความขัดแย้งเป็นสันติ • ปัญหาความขัดแย้ง • ความขัดแย้งคือความทุกข์ เกิดขึ้นเพราะ • 1.ความขัดแย้งในสังคม • 2.ความขัดแย้งในการพัฒนา

  6. การยุติปัญหาความขัดแย้งการยุติปัญหาความขัดแย้ง • การเจรจาไกล่เกลี่ยคนกลาง • สานเสวนา (DIALOGUE) • ร่วมใจพัฒนาสังคม

  7. บทที่ ๑ ทฤษฎีความขัดแย้ง ๑. ความขัดแย้งทางสังคม ๒. ความขัดแย้งด้านพฤติกรรม ๓. ความขัดแย้งทางความคิด ความหมายของความขัดแย้ง

  8. ๑ทฤษฎีความขัดแย้ง ทฤษฎีนี้เป็นต้นแบบของการปกครองแบบคอมมิวนิสต์ ผู้ที่นำไปใช้เป็นคนแรกคือ เลนิน และต่อมาคือ ประธานเหมาเจ๋อตุง ทฤษฎีนี้เมื่อเผยแผ่ไปสู่โลกยุโรปได้เปลี่ยนชื่อเป็น ทฤษฎี มาร์ซซิกส์ ทฤษฎีของคาร์มาร์คซ์ ( karl Marx)

  9. ยการผลิตเป้นของขุนนางยการผลิตเป้นของขุนนาง ทฤษฎีความขัดแย้ง ๓. สังคมแบบดั้งเดิม ปัจจัยการผลิตเป็นของชนเผ่า ๒. สังคมแบบโบราณ ปัจจัยการผลิตเป็นของรัฐ ๓. สังคมแบบศักดินา ปัจจัยการผลิตเป็นของขุนนาง ๔. สังคมแบบทุนนิยม ปัจจัยการผลิตเป็นของนายทุน ๕. สังคมแบบคอมมิวนิสต์ ปัจจัยการผลิตเป็นของคนทุกคน ทฤษฎีของคาร์ลมาร์กซ์ มีหลักสำคัญ ๕ ยุค

  10. เกิดตัวแทนทางการเมืองางเกิดตัวแทนทางการเมืองาง ทฤษฎีความขัดแย้ง ๓. มีความต้องการในการผลิต ๒. เกิดการแบ่งแยกแรงงาน ๓. มีการสะสมและพัฒนาทรัพย์สินส่วนบุคคล ๔. ความไม่เท่าเทียมทางสังคมมีมาก ๕. เกิดการต่อสู้กันระหว่างชนชั้น ๖. เกิดตัวแทนทางการเมือง ๖. เกิดการปฏิวัติ เหตุผลของการปฏิวัติตามแนวของคาร์ล

  11. ทฤษฎีความขัดแย้ง ๑. ผู้นำในรัฐนั้นๆมุ่งแสวงหาประโยชน์ให้แก่ตนเอง ๒. เกิดการกักตุนจากชนชั้นกลางและชั้นสูง ๓. ความล้มเหลวของระบอบการปกครองแบบเดิม การปฏิวัติสังคมตามทฤษฎีได้สำเร็จเพราะเหตุผลดังต่อไปนี้

  12. ทฤษฎีความขัดแย้งของลิวอิส เอ. ลิวอิส เอ. โคเซอร์ มองว่า ความขัดแย้งมีทั้งผลบวกและผลลบ เพราะเหตุดังต่อไปนี้ ๑. ความขัดแย้งเป็นกระบวนการขัดเกลาทางสังคม ๒. ไม่มีสังคมไหนที่ปราศจากความขัดแย้ง ๓. ความขัดแย้งทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลง ๔. ความขัดแย้งทำให้เกิดการแบ่งกลุ่มเป็นกลุ่มย่อย ทำให้ปรปักษ์ลดลง

  13. แนวคิดของราล์ฟ ดาห์เรนดอร์ฟ เป็นนักคิดที่ค้านแนวคิดของคาร์ล โดยให้เหตุผลว่า “ความไม่เท่าเทียมเกิดขึ้นเพราะเรื่องสิทธิทางอำนาจ” ๑. กลุ่มที่มีอำนาจจะแสวงหาอำนาจให้สูงขึ้น และหวงอำนาจ ๒. กลุ่มที่ไม่มีอำนาจจะถูกกดขี่ ทำให้สังคมทั้งสองขัดแย้งกัน

  14. บทที่ ๒ ความขัดแย้ง conflict พระครูปริยัติกิจวิบูล

  15. ความหมายของคำว่าขัดแย้งความหมายของคำว่าขัดแย้ง ๑. หมายถึงการต่อสู้ การรบพุ่ง และสงคราม ๒. การแข่งขันหรือการกระทำที่ตรงข้าม ๓. ความคับข้องใจ ๔. ความขัดแย้งคือความสัมพันธ์ของบุคคลที่เกี่ยวข้องกัน แต่ความต้องการแตกต่างกัน

  16. ความขัดแย้งแบ่งออกเป็นสามยุคความขัดแย้งแบ่งออกเป็นสามยุค ๑. ความคิดดั้งเดิม คิดว่าความขัดแย้งไม่ดี ๒. ความคิดด้านมนุษย์สัมพันธ์ มองว่า ความขัดแย้งไม่สามารถกำจัดได้ ภ. แนวคิดสมัยใหม่ มองว่าความขัดแย้งนำมาซึ่งความสามัคคี

  17. ประเภทของความขัดแย้ง ๑. ความขัดแย้งส่วนบุคคล เป็นความขัดแย้งในตัวเองหรือความขัดแย้งต่อบุคคลอื่น มีลักษณะดังนี้ ---- ขัดแย้งต่อตัวเอง เช่น - รักพี่เสียดายน้อง - หนีเสือปะจระเข้ - เกลียดตัวกินไข่ ---- ขัดแย้งกับผู้ใกล้ชิด ( เปรียบเสมือนลิ้นกับฟัน)

  18. ประเภทของความขัดแย้ง ความขัดแย้งในองค์การ ซึ่งมักเกิดจากสิ่งดังต่อไปนี้ เกิดจากในองค์การมีคนหมู่มาก - เกิดจากความคิดที่แตกต่างกัน - เกิดจากฐานะที่ผิดกัน - เกิดจากวรรณะที่ต่างกัน (สีผิว)

  19. ประเภทของความขัดแย้ง - ความขัดแย้งระหว่างองค์การ เป็นความขัดแย้งในระดับองค์การหรือหน่วยงานของราชการที่มีความสัมพันธ์กันตั้งแต่สององค์การขึ้นไป เช่น ความขัดแย้งในองค์การของพระพุทธศาสนา ระหว่างกระทรวงวัฒนธรรม กับสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ - ความขัดแย้งระหว่างการไฟฟ้าฝ่ายผลิตกับการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค

  20. สาเหตุของความขัดแย้ง - ลักษณะงานที่ต้องพึ่งพาอาศัยกัน - การแบ่งงานตามความถนัด - การกำหนดหน้าที่ไม่ชัดเจน - การสื่อสารบกพร่อง - การแข่งขันเพื่อแย่งชิงทรัพยากร

  21. ระดับความขัดแย้ง ๑. ความขัดแย้งระดับบุคคล ๒. ความขัดแย้งระดับองค์กร ๓. ระดับประเทศ ๔. ความขัดแย้งระหว่างรัฐต่อรัฐ

  22. บทที่ ๓ ความขัดแย้งระดับประเทศ กรณีสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ สามจังหวัดชายแดนภาคใต้แต่เดิมมีเจ้าผู้ครองนคร โดยมีนครรัฐปัตตานีเป็นศูนย์กลาง รัฐปัตตานีปกครองโดยกษัตริย์หญิงมาโดยตลอด กษัตริย์หญิงที่นับว่าชำนาญการรบมากที่สุดคือนางพญาอินทิรา

  23. บทที่๓ความขัดแย้งระดับประเทศบทที่๓ความขัดแย้งระดับประเทศ รัฐปัตตานีแต่เดิมนับถือศาสนาพุทธ นิกายมหายาน ต่อมาพระนางอินทิราได้เปลี่ยนไปนับถือศาสนาอิสลาม ทำให้เกิดสงครามระหว่างประเพณีขึ้น ( พ.ศ. ๒๐๐๒) ราชินีองค์ที่ ๔ ได้สั่งให้ทำปืนใหญ่ขึ้นที่ประเทศจีน เพื่อมาต่อสู้กับศัตรู สาม ลำ มีชื่อว่า ศรีนาคารา ศรีปัตตานี มหเลลา แต่ลำหนึ่งได้ถูกคลื่นพัดเรือแตกกระจายจึงเหลือเพียงสองลำ ปี ๒๓๕๑ รัชกาลที่ ๑ ได้แบ่งแยกรัฐปัตตานีออกเป็น ๗ รัฐ เพื่อลดทอนอำนาจของรัฐปัตตานี

  24. บทที่๓ ความขัดแย้งระดับประเทศ ความขัดแย้งที่นำไปสู่ความแตกแยก - เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๕ โดยที่พระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๕ ทรงเลิกระบบเจ้าพระยามหานคร เปลี่ยนเป็นมณฑล การเก็บภาษีให้ส่งตรงยังกรุงเทพฯ โดยไม่ต้องผ่านปัตตานี ปี ๒๔๔๕ อับดุลกาเดร์ (พระยาวิชิตภักดี ) ได้ก่อการกบถปี พ.ศ. แต่ก็แพ้ต้องหนีไปอยู่รัฐกลันตัน และสิ้นชีพพิตักษัยที่รัฐกลันตัน

  25. ขบวนก่อการร้ายโจรพูโลขบวนก่อการร้ายโจรพูโล Kasturi Mahkota ซึ่งเป็นหัวหน้าในระดับระหว่างประเทศ และเป็นชนชั้นระดับหัวหน้า และเป็นผู้เสนอนโยบายงดสงคราม แต่ทางรัฐไทยไม่ยอม โดยสมัยนั้น พล.เอก พัลลพ ปิ่นมณี ได้ทำการบุกยึดและยิ่งคนของขบวนการในมัสยิสกรือเซะ จนมีคนของขบวนการตายเป็นจำนวนมาก โดยขบวนการต้องการปลดปล่อยรัฐปัตตานีเป็นรัฐอิสระ

  26. ขบวนก่อการร้ายโจรพูโลขบวนก่อการร้ายโจรพูโล ในสมัยที่ ร.ต.อ. เฉลิม เฉลิมอยู่บำรุง เป็นรัฐมนตรีกระทรวงมหาดไทย สามารถที่จะทำให้สงครามกองโจรสลายตัวได้ โดยการขอพระราชทานอภัยโทษแก่กลุ่มโจรที่ทางรัฐจับตัวไป นายสมัคร สุนทรเวช มีความคิดที่จะนำปัญหาทางชายแดนภาคใต้ขึ้นสู่การเจรจาระดับโลก โดยเปิดการเจรจาที่สวิสเซอแลนด์ แต่บังเอิญนายสมัครถูกตัดสินให้พ้นจากการเป็นนาวยกรัฐมนตรีก่อน

  27. ขบวนการโจรพูโล พูโล คืออะไร คำว่า Pulo เป็นอักษรย่อของ Patani United Liberation Organisation แปลว่า องค์การกู้เอกราชสหปาตานี อันเป็นสิทธิของชาวอิสลาม

  28. ใครคือผู้ก่อตั้งขบวนการพูโลใครคือผู้ก่อตั้งขบวนการพูโล ผู้ก่อตั้งพูโล คือ ตนกูวีรา อับดุลเราะฮ์มาน ในสมัยที่ท่านเป็นนักศึกษา หรือที่รู้จักกันในนามว่า หม่อมราชวงศ์วีระ ณ ราชวังคราม เป็นเชื้อพระวงศ์กษัตริย์ปาตานีสายราชวงศ์ราชวังคราม ก่อตั้งเมื่อวันที่ ๒๒ มกราคม ๑๙๖๘ ที่ประเทศซาอุดิอารเบีย

  29. แนวทางสันติวิธี แนวทางสันติวิธีที่สามารถทำให้ขวนการพูโลพอใจ มีผู้ที่ให้ข้อคิดไว้ดังนี้ พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ ได้ให้ข้อคิดว่า -- ควรให้รัฐปัตตานีเป็นรัฐที่ปกครองด้วยตนเอง แต่ยังขึ้นต่อส่วนกลาง คือรัฐไทย -- การบริหารรัฐปัตตานีใช้ระบบการบริหารเช่นอเมริกา

  30. แนวทางสันติวิธี ทำตามจุดประสงค์ของพูโล คือ ให้จังหวัดดังต่อไปนี้ขึ้นสังกัดกับจังหวัดปัตตานี คือ -- เซอตูล สิงขรนคร ญาลา บังนารา ๓ ให้คนในขบวนการมอบตัวเพื่อทำปฏิญญาก่อนจึงแบ่งรัฐให้ ๔. ภาษีเงินได้ให้รัฐบาลกลางเป็นผู้เก็บ บางส่วนส่งไปพัฒนารัฐปัตตานี

  31. แนวทางสันติวิธี ๔. แนวทางสุดท้ายคือวางอาวุธ แต่ทั้งหมดที่กล่าวมาโจรแบ่งแยกดินแดนไม่รับการเจรจาเพราะว่ากลุ่มของตนรับไม่ได้

  32. ทฤษฎีแบ่งแยกดินแดน ๑. ประวัติศาสตร์ที่เพิ่งเริ่มต้นของ สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพที่ว่า -- ทุกคนย่อมต้องการอิสระ -- ประเพณีที่แตกต่างจากประชาชนภาคใต้ในจังหวัดอื่น ๒. รัฐประชาชาติคืออะไร คือความเป็นหนึ่งเดียวของชนชาติที่ต่างภาษาและต่างศาสนา

  33. ทฤษฎีแบ่งแยกดินแดน ๓. ใครคือคนมลายูมุสลิม คนมุสลิมในไทยไม่ใช่ชนกลุ่มน้อยในทางชาติพันธ์แต่เป็นคนไทยที่มีอยู่ทั่วเมืองไทย เช่นมุสลิมที่มาจากปากีสถานที่อาศัยการเป็นเจ้าของโรงฆ่าสัตว์ก็ไม่ต้องการแบ่งแยกดินแดน

  34. ทฤษฎีแบ่งแยกดินแดน ๔. ปฏิสัมพันธ์ระหว่างรัฐมลายูกับรัฐไทยสมัยก่อน เกิดการต่อต้านจากรายามากกว่าด้านอื่น ๕. ศึกษาปัญหาของการแบ่งแยกดินแดน ๖. อัตลักษณ์ของพวกเขาที่มองตนเองว่าเป็นเพียงแค่ชนกลุ่มน้อย ๗. ศึกษา กบฏหะยีสุหลง ถึงกบฏดุซงญอ

  35. ทฤษฎีแบ่งแยกดินแดน กรณีมัสยิดกรือเซะเหตุการณ์ที่เป็นที่รู้จักกันในชื่อกรณีมัสยิดกรือเซะเป็นเหตุการณ์ความรุนแรงที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 28 เมษายน 2547 บริเวณมัสยิดกรือเซะ ตำบลตันหยงลูโละ อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี มัสยิดกรือเซะเป็นโบราณสถานและมัสยิดเก่าแก่ของจังหวัดปัตตานี

  36. ทฤษฎีแบ่งแยกดินแดน ลำดับเหตุการณ์วันที่ 27 เมษายน 2547 เวลาประมาณ 15.00 น. กลุ่มบุคคลประมาณ 30 คนแต่งกายในลักษณะบุคคลทั่วไปที่เดินทางไปปฏิบัติศาสนกิจ ได้เดินทางโดยรถกระบะและรถเก๋ง พร้อมด้วยกระเป๋าสัมภาระไปยังมัสยิดกรือเซะ และได้นำกระเป๋าสัมภาระเข้าไปไว้ในมัสยิด ต่อมาเวลาประมาณ 17.00 ถึง 20.00 น

  37. ทฤษฎีแบ่งแยกดินแดน ความรุนแรงในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ของประเทศไทยดำเนินมาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่เกิดเหตุการณ์ปล้นปืนในค่ายกรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เมื่อวันที่ 4 มกราคม 2547 ซึ่งเหตุการณ์มัสยิดกรือเซะเป็น หนึ่งในเหตุการณ์ความรุนแรงที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ดังกล่าว

  38. บำให้คนไทยไม่มีความสามัคคีบำให้คนไทยไม่มีความสามัคคี ทฤษฎีการแบ่งแยกดินแดน ผลกระทบจากเหตุการณ์ ๑.ทำให้คนไทยเกิดความแตกแยก ๒.ความสัมพันธ์กับต่างประเทศลดน้อยลง ๓.สภาวะเศรษฐกิจซบเซา

  39. บำให้คนไทยไม่มีความสามัคคีฐข่มเหงรังแกประชาชนบำให้คนไทยไม่มีความสามัคคีฐข่มเหงรังแกประชาชน ความขัดแย้งกรณีที่ทำกิน กรณีของ ยายไฮ ขันจันทา ๑. เป็นการทำงานของระบบราชการไทย ๒. อำนาจรัฐข่มเหงรังแกประชาชน ๓. การสร้างเขื่อนห้วยละห้าไม่มีการทำประชาพิจารณ์ ๔. กรณีภาครัฐที่ต้องอยู่เบื้องหลัง ๕. การต่อสู้ที่ใช้ระยะเวลาอันยาวนาน

  40. บำให้คนไทยไม่มีความสามัคคีฐข่มเหงรังแกประชาชนบำให้คนไทยไม่มีความสามัคคีฐข่มเหงรังแกประชาชน ความขัดแย้งกรณีที่ทำกิน • สิ่งที่ประชาชนต้องรับ(จากกรณีของยายไฮเป็นตัวอย่าง) • ถูกศาลตัดสินว่าทำลายทรัพย์สินของทางราชการ • ๒. ถูกตัวแทนของทางราชการในท้องถิ่นจับไปดำเนินเนินคดี • ๓. สื่อมวลชนเริ่มให้ความสนใจ • ๔. ภาครัฐโดยนายกรัฐมนตรีต้องมาดูแลเอง

  41. บำให้คนไทยไม่มีความยุตสามัคคีฐข่มเหงรังแกประชาชนบำให้คนไทยไม่มีความยุตสามัคคีฐข่มเหงรังแกประชาชน ข้อคิดเกี่ยวกับกรณีที่ทำกิน ๑. การทำผิดกฎหมายนำไปสู่วิธีแก้ปัญหา ๒. กรณีการประท้วงแบบสันตวิธี และอริยขัดขืนของยายไฮ ๓. มีผลทำให้ กลุ่มผู้ไม่ต้องการโรงงานไฟฟ้านิวส์เคลียนำไปใช้

  42. เหงรังแกประชาชน บทสัมภาษณ์ของยายไฮ บทสัมภาษณ์กับคุณสรยุทธของยายไฮ สรยุทธ เอาที่คืนมาแต่ไม่มีคนคบจะเอาไหม ยายไฮ ไม่คบก็ช่างมัน เพราะคนที่เสียที่นาด้วยกันย่อม ไม่ทิ้งกัน สรยุทธ แสดงว่าจะมีคนอื่นได้ที่นาคืนด้วย ยายไฮ ใช่ แต่เขากลัวอำนาจมืด แต่ฉันไม่กลัว (ยายไฮต่อสู้เรียกร้องที่ทำกินมา ๒๗ ปี)

More Related