1 / 22

สรุป การประเมินผลการปฏิบัติงาน 100 คะแนน แบ่งออกเป็น

ผลสัมฤทธิ์ของงาน ๗๐ % โดยประเมินตามตัวชี้วัด ใน Job Description ที่แต่ละคนได้รับมอบหมาย สมรรถนะ ๓๐% ใช้เกณฑ์ประเมินตามที่ สำนักงาน ก.พ.กำหนด. สรุป การประเมินผลการปฏิบัติงาน 100 คะแนน แบ่งออกเป็น. 1. การมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ (Achievement Motivation )

Download Presentation

สรุป การประเมินผลการปฏิบัติงาน 100 คะแนน แบ่งออกเป็น

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ผลสัมฤทธิ์ของงาน ๗๐ % โดยประเมินตามตัวชี้วัด ใน Job Description ที่แต่ละคนได้รับมอบหมาย สมรรถนะ ๓๐% ใช้เกณฑ์ประเมินตามที่ สำนักงาน ก.พ.กำหนด สรุป การประเมินผลการปฏิบัติงาน 100 คะแนน แบ่งออกเป็น

  2. 1. การมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ (Achievement Motivation) 2. การบริการที่ดี (Service Mind) 3. การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ (Expertise) 4. ความถูกต้องชอบธรรมและจริยธรรม (Integrity) 5. การทำงานเป็นทึม (Teamwork) โดยทั้ง ๕ สมรรถนะหลักให้น้ำหนัก เท่ากับ ๒๐% เท่ากันทุกข้อ สมรรถนะหลัก มี ๕ ข้อ ประกอบด้วย

  3. หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงาน สำหรับ กลุ่มงานทุกกลุ่มงานใน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครนายก ปีงบประมาณ๒๕๕๖ ( ๑ต.ค. ๕๕– ๓๐ ก.ย.๕๖) แบ่งออกเป็น * ผลสัมฤทธิ์ของงาน ๗๐% %โดยประเมินตามตัวชี้วัด ใน Job Description ที่แต่ละคนได้รับมอบหมาย * พฤติกรรมการปฏิบัติงาน ๓๐% (พฤติกรรมการปฏิบัติงาน) ใช้เกณฑ์ประเมินตามที่ สำนักงาน ก.พ.กำหนด กลุ่ม สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสรุปได้ดังนี้

  4. ๕ สมรรถนะหลัก ประกอบด้วย ๑. การมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์(Achievement Motivation) ๒๐% มีตัวชี้วัด มีผลสำเร็จของงานที่ได้รับมอบหมายที่แสดงถึง ความพยายาม ความตั้งใจในการปฏิบัติงานให้สำเร็จทันกำหนด ถูกต้องมีคุณภาพ ๒. การบริการที่ดี (Service Mind) ๒๐% มีตัวชี้วัด ให้บริการที่เป็นมิตร สุภาพ ยิ้มแย้มแจ่มใส ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง ชัดเจน มีจิตบริการ รับเป็นธุระ ช่วยแก้ปัญหาหรือหาแนวทางการแก้ไข ส่วนของพฤติกรรม ใช้เกณฑ์ตามที่สำนักงาน ก.พ. กำหนด

  5. ๓. การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ(Expertise) ๒๐% มีตัวชี้วัด ๓.๑ สามารถใช้ Computer and Internet เกี่ยวกับงานที่ปฏิบัติ ๓.๑รอบรู้ในเทคโนโลยีสารสนเทศ ในสาขาวิชาชีพของคน และสามารถนำมา ประยุกต์ใช้ในงานราชการ รวมถึงการให้คำแนะนำผู้อื่นได้(เช่น เป็นวิทยากร) ๔. การยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรมและ จริยธรรม (Integrity) ๒๐% มีตัวชี้วัด ๔.๑ จำนวนครั้งของการกระทำผิดวินัยและการไม่ปฏิบัติตามระเบียบของทางราชการ ๔.๒การมาปฏิบัติงานสาย เกิน 12 ครั้ง / 6 เดือน ๔.๓การแต่งกายสุภาพ เรียบร้อยและเป็นไปตามที่หน่วยงานกำหนด ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี ๕ สมรรถนะหลัก (ต่อ)

  6. ๕. การทำงานเป็นทึม (Teamwork) ๒๐% มีตัวชี้วัด ๕.๑ ปฏิบัติตามกฎ กติกา ของทีม ๕.๒ แสดงความมุ่งมั่นที่จะร่วมทำงานเป็นทีม ๕.๓ มีส่วนร่วมในกิจกรรม/พิธีการที่หน่วยงาน/จังหวัดกำหนด ๕.๔ รับฟังความเห็นของผู้ร่วมทีมและเสนอแนะที่เป็น ประโยชน์ ต่อการปฏิบัติงานของทีม โดยทั้ง ๕ สมรรถนะหลักให้น้ำหนัก เท่ากับ ๒๐% เท่ากันทุกข้อ ๕ สมรรถนะหลัก (ต่อ)

  7. หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผล ปีงบประมาณ๒๕๕๖ ( ๑ต.ค. ๕๕ – ๓๐ ก.ย.๕๖) การปฏิบัติราชการในส่วนของโรงพยาบาลชุมชน มีขั้นตอน ดังนี้ - มีการประชุมร่วมกัน ๒ ครั้ง โดยทีม HRD ของ ๓ โรงพยาบาล - ได้รับความเห็นชอบของผู้บริหาร - ยึดหลักตามที่ ก.พ. กำหนด กลุ่ม โรงพยาบาลชุมชน ทั้ง ๓ แห่ง

  8. ผลสัมฤทธิ์ของงาน 7๐% ประเมินจาก 1. ฝ่าย/งาน กำหนด JD (จำนวนและความยากง่ายให้เป็นธรรม) 2. กำหนดตัวชี้วัดและวิธีการประเมิน สมรรถนะ ๓๐% ประเมินจาก พฤติกรรมการปฏิบัติราชการ ใช้เกณฑ์กลางทั้งหมด จากระดับที่คาดหวังไม่เท่ากัน โดย หัวหน้าเป็นผู้ประเมิน ใช้เงิน ๒.๘ % ของเจ้าหน้าที่ใน ฝ่าย/ งาน ตนเอง หลักตามที่ ก.พ. กำหนด

  9. 1. สมรรถนะ ๕ ข้อที่ ก.พ.กำหนด 2. วัดได้เป็นกลาง ทุกคนปฏิบัติได้ใช้ร่วมกันทั้ง ๓ โรงพยาบาล 3. โรงพยาบาล กำหนดเพิ่มตามนโยบายขององค์กร 4. กรรมการ HRD รับผิดชอบ (ผ่านมติที่ประชุมของคณะกรรมการบริหาร) 5. กันเงิน ๐.๑ % สมรรถนะกลางที่ใช้ร่วมกันทั้ง ๓ โรงพยาบาล ประกอบด้วย

  10. 1. การมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์วัดจาก นวัตกรรม /วิจัย โดยให้น้ำหนักคะแนนดังนี้ ๑ คะแนน = มีเรื่องเล่า / ถอดบทเรียน 2 คะแนน = มีผลงาน CQI นำเสนอระดับ โรงพยาบาล 3 คะแนน = มีนวตกรรม / วิจัย ระดับจังหวัด 4 คะแนน = มีนวตกรรม / วิจัย ระดับเขต 5 คะแนน = มีนวตกรรม / วิจัย ระดับประเทศ กำหนดตัวชี้วัดสำหรับสมรรถนะหลัก ๕ ข้อ

  11. 2. บริการที่ดี วัดจาก ความพึงพอใจของผู้มารับบริการ โดยให้น้ำหนักคะแนนดังนี้ ๑ คะแนน = < 60 2 คะแนน = 60 - 69 3 คะแนน = 70 - 79 4 คะแนน = 80 - 89 5 คะแนน = > 90 กำหนดตัวชี้วัดสำหรับสมรรถนะหลัก ๕ ข้อ (ต่อ)

  12. 3. การสั่งสมความเชี่ยวชาญ วัดจาก นำความรู้ที่อบรม/ ประชุม มาเผยแพร่และ/หรือพัฒนางานในหน่วยงานหรือเวทีนำเสนอ โดยให้น้ำหนักคะแนนดังนี้ ๑ คะแนน = ประชุม อบรม สอนงาน ๕ วัน/ ๖ เดือน 2 คะแนน = มีการถ่ายทอดเรื่องที่ อบรม/ประชุมในหน่วยงาน หรือเวทีนำเสนอ 3 คะแนน = นำเรื่องที่อบรม/ ประชุมมาพัฒนาหน่วยงานให้มีประสิทธิภาพ 4 คะแนน = เป็นวิทยากรรับเชิญนอกหน่วยงาน เป็นที่ยอมรับฯ 5 คะแนน = นำเรื่องที่อบรม/ประชุม มาพัฒนาคุณภาพใน โรงพยาบาล หรือเป็นแบบอย่างแก่ โรงพยาบาลอื่น กำหนดตัวชี้วัดสำหรับสมรรถนะหลัก ๕ ข้อ (ต่อ)

  13. 4. คุณธรรม จริยธรรมวัดจาก การมาทำงานสาย โดยให้น้ำหนักคะแนนดังนี้ ๑ คะแนน = มาทำงานสาย > 6 ครั้ง 2 คะแนน = มาทำงานสาย 5 ครั้ง 3 คะแนน = มาทำงานสาย 4 ครั้ง 4 คะแนน = มาทำงานสาย 3 ครั้ง 5 คะแนน = มาทำงานสาย < 2 ครั้ง กำหนดตัวชี้วัดสำหรับสมรรถนะหลัก ๕ ข้อ (ต่อ)

  14. 5. การมีส่วนร่วมวัดจาก การมีส่วนร่วมในกิจกรรม ของ โรงพยาบาลอย่างน้อย ๙๐% ของกิจกรรมทั้งหมด ซึ่งวัดจากกิจกรรมดังนี้ ๕.๑ กิจกรรมภาพรวม ของโรงพยาบาล ๕.๒ เข้าร่วมกิจกรรมวันนักขัตฤกษ์(วันพ่อ วันแม่ วันปิยะฯ ) โดยให้น้ำหนักคะแนนดังนี้ ๑ คะแนน = < 60 % 2 คะแนน = 60 – 69 % 3 คะแนน = 70 – 79 % 4 คะแนน = 80 = 89 % 5 คะแนน = > 90 % กำหนดตัวชี้วัดสำหรับสมรรถนะหลัก ๕ ข้อ (ต่อ)

  15. 1. ความพึงพอใจ 3 คะแนน 2. มนุษยสัมพันธ์ /การประสานงานดี 3 คะแนน 3. การมีส่วนร่วมในการร่วมกิจกรรมของโรงพยาบาล 3 คะแนน 4. การลาป่วย 3 คะแนน 5. การลากิจ 3 คะแนน 6. การมาทำงานสาย 3 คะแนน 7. นวัตกรรม / วิจัย 3 คะแนน 8. ค่า BMI 3 คะแนน คะแนนรวม ๒๔ คะแนน ตัวชี้วัดกลางที่ โรงพยาบาลปากพลี กำหนดเพิ่ม มีดังนี้

  16. โรงพยาบาลปากพลี กำหนดเพิ่ม คือ ผลลัพธ์ค่าเฉลี่ยตัวชี้วัดกลาง และกำหนด คะแนนที่จะมีผลให้ได้รับเงินเดือนเพิ่ม ดังนี้ ๑๘ คะแนน ได้เพิ่ม ร้อยละ ๐.๕ ๑๗ คะแนน ได้เพิ่ม ร้อยละ ๐.๔ ๑๖ คะแนน ได้เพิ่ม ร้อยละ ๐.๓ ๑๕ คะแนน ได้เพิ่ม ร้อยละ ๐.๒ ตัวชี้วัดกลางที่ โรงพยาบาลปากพลี กำหนดเพิ่ม มีดังนี้ (ต่อ)

  17. หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผล การปฏิบัติราชการในส่วนของสาธารณสุขอำเภอ มีขั้นตอนดังนี้ หลักคิด ๑. ใช้ระเบียบ ก.พ.เป็นหลัก ๒. เป็นดุลยพินิจของผู้ประเมินจากการสังเกต กลุ่ม สาธารณสุขอำเภอ 4 อำเภอ

  18. ๕ สมรรถนะหลัก ประกอบด้วย 1. การมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ (Achievement Motivation) ๒. การบริการที่ดี (Service Mind) 3. การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ (Expertise) 4. การยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรมและจริยธรรม (Integrity) ๕. การทำงานเป็นทึม (Teamwork) การประเมินสมรรถนะ (๓๐%)

  19. ผอ.รพ.สต. เพิ่มข้อ ๖ ทางการบริหาร คือ สภาวะผู้นำ (Leadership) โดยกำหนดค่าน้ำหนัก ดังนี้ - ผอ.รพ.สต. ข้อ ๑ – ข้อ ๕ =15x5=75 ข้อ 6 = 25 - เจ้าหน้าที่ ใน รพ.สต. ทุกข้อ ๆ ละ 20x5 = 100 การประเมินสมรรถนะ (๓๐%) ต่อ

  20. ๒. การประเมินผลปฏิบัติงาน (๗๐%) ตัวชี้วัดต้องตอบสนอง ดังนี้ ๑. วิสัยทัศน์ พันธกิจ กลยุทธ์ สสจ. ๒. วิสัยทัศน์ พันธกิจ กลยุทธ์ CUP 3. นโยบายในระดับต่าง ๆ ๔. ปัญหาสุขภาพในพื้นที่ที่รับผิดชอบ การประเมินสมรรถนะ (๓๐%) ต่อ

  21. 1.กำหนดเกณฑ์ วิธีการและระยะเวลาการประเมิน 2. ประกาศเกณฑ์ วิธีการและระยะเวลาการประเมิน ให้สมาชิก ในองค์กรทราบ 3. การพิจารณา ๓.๑ แต่งตั้งคณะกรรมการประเมิน ประกอบด้วย ประธาน สสอ. กรรมการ ผอ.รพ.สต. ทุกแห่ง เลขานุการ ผช.สสอ. ๓.๒ ให้ ผอ.รพ.สต. ประเมินเจ้าหน้าที่ ใน รพ.สต. และ สสอ. ประเมิน ผอ.รพ.สต. ๓.๓ ให้จัดทำคะแนนรายบุคคลให้ครบถ้วน ถูกต้องและจัดกลุ่ม ตามประกาศจังหวัด 3.4 จัดสรรจำนวนเงินให้กับแต่ละ รพ.สต. 3.5 ผอ.รพ.สต. และ สสอ. ร่วมกันกำหนด จำนวน%ให้ตามผล การประเมิน ขั้นตอนการพิจารณาความดีความชอบ

More Related