1 / 16

โจทย์ Module 2 การ วิเคราะห์ สถานการณ์ Module 1 เป้าหมายและวิสัยทัศน์โดยรวม Module 3 ปัญหาสุขภาพ

การสร้างเสริมสมรรถนะการบริหารจัดการระบบสุขภาพระดับอำเภอ (District Health System Management Learning : DHML ) อำเภอป่าติ้ว. โจทย์ Module 2 การ วิเคราะห์ สถานการณ์ Module 1 เป้าหมายและวิสัยทัศน์โดยรวม Module 3 ปัญหาสุขภาพ. การวิเคราะห์สภาพปัญหา. 1. ปัญหาสาธารณสุขอำเภอป่าติ้ว.

clarke
Download Presentation

โจทย์ Module 2 การ วิเคราะห์ สถานการณ์ Module 1 เป้าหมายและวิสัยทัศน์โดยรวม Module 3 ปัญหาสุขภาพ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การสร้างเสริมสมรรถนะการบริหารจัดการระบบสุขภาพระดับอำเภอการสร้างเสริมสมรรถนะการบริหารจัดการระบบสุขภาพระดับอำเภอ (District Health System Management Learning : DHML) อำเภอป่าติ้ว โจทย์Module 2การวิเคราะห์สถานการณ์Module 1เป้าหมายและวิสัยทัศน์โดยรวมModule 3ปัญหาสุขภาพ

  2. การวิเคราะห์สภาพปัญหาการวิเคราะห์สภาพปัญหา 1.ปัญหาสาธารณสุขอำเภอป่าติ้ว 1.MCH = LBW ANC PNC2.NCD =DM/HT3.CD =DHF สาเหตุการป่วย สาเหตุการตาย อันดับ 1 โรคมะเร็ง ได้ร่วมกับวาระคนยโสธร ต้านมะเร็งท่อน้ำดี การวิเคราะห์สภาพปัญหา สาเหตุการตาย -PCA -HA KPI การบริการ

  3. การจัดลำดับความสำคัญ -ขนาด -ความรุนแรง -ความยากง่ายของการแก้ปัญหา -การมีส่วนร่วมของชุมชน*** เป็นข้อสรุปจากทุกตำบล (ผ่าน รพ./รพ.สต.) DHS/DHML

  4. โครงการ ODOP การส่งเสริม ป้องกัน และแก้ไขปัญหา MCH ปี 2556-2557 การสร้างเสริมสมรรถนะการบริหารจัดการระบบสุขภาพระดับอำเภอ (District Health System Management Learning : DHML) • KPI แม่อายุต่ำกว่า 20 ปีคลอดไม่เกิน ร้อยละ 10 • KPI อัตราวัยรุ่นตั้งครรภ์ไม่เกิน 50 ต่อพันpopวัยรุ่น DHML

  5. กลุ่มเสี่ยง • โรงเรียนมัธยม/รร.ขยายโอกาส/การศึกษานอกระบบ • วัยรุ่น 14-19 ปี 5,373 คน (หญิง 2,698 คน) • RCA ร้านอาหาร/คาราโอเกะ 12 ร้าน

  6. โครงการป้องกัน แก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร เครือข่ายสุขภาพ อ.ป่าติ้ว จ.ยโสธร ความเครียด/ภาวะซึมเศร้า ฝากครรภ์ครบคุณภาพ ทารก แรกเกิด นน.น้อย Teenage Pregnancy พัฒนาการเด็กก่อน-หลังคลอด การเรียน การทำแท้ง คุณภาพชีวิตของแม่และเด็ก ฐานการพัฒนา คือคุณภาพของคน

  7. ปัญหาการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรปัญหาการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร (Teenage Pregnancy) ปัญหายุ่งยากซับซ้อน (Complex) • แก้เชิงระบบ • สร้างความร่วมมือในการแก้ปัญหา • ดำเนินหลายๆเรื่อง/กิจกรรมพร้อมกัน การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านการลงมือปฏิบัติอย่างมีส่วนร่วม (Participatory Interactive Learning through Action : PILA

  8. กลวิธีดำเนินการ 3.1 จัดสร้างระบบข้อมูลเพื่อส่งเสริมให้เกิดช่องทางการเผยแพร่และตอบสนองจากภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง MOdule1 : เป้าหมายและวิสัยทัศน์โดยรวม(Overall Interactions) MOdule2 : การวิเคราะห์สถานการณ์ (Situation analysis) MOdule3 : ปัญหาสุขภาพ (Health problems) Module 9 : การบริหารจัดการระบบข้อมูลสุขภาพ (Management Health Information System)

  9. กลวิธีดำเนินการ 3.2 จัดเวทีนำเสนอข้อมูล/การศึกษาดูงาน เพื่อให้เกิดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างหน่วยงาน/ภาคี/ภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง Module 8 :การมีส่วนร่วมของชุมชนและการสร้างการมีส่วนร่วมกับภาคส่วนต่างๆ (Community Participation and Intersect oral Collaboration )

  10. กลวิธีดำเนินการ 3.3 จัดทำบันทึกข้อตกลง/พันธะกิจร่วมกัน โดยการบูรณาการแผนงาน/โครงการร่วมกัน Module 5 : คุณลักษณะของผู้บริหารจัดการ และเครื่องมือบริหารจัดการระบบสุขภาพอำเภอ(Essential Managers and Introduction to District Health system Management tools ) Module 6 : วงจรการวางแผนและการบริหารจัดการ(Planning and Management cycles )

  11. กลวิธีดำเนินการ 3.4 การดำเนินการตามแผนงาน/โครงการ การตรวจเยี่ยม/ติดตามประเมินผล Module 4 : หลักการของการจัดระบบบริการสุขภาพ(Principles of Health service Organization ) และระบบบริการสุขภาพอำเภอ (District Health service system Module 11 : การประเมินผล (Evaluation)

  12. กลวิธีดำเนินการ 3.5 จัดเวทีนำเสนอผลงานภาพรวมเครือข่าย Module 9 : การบริหารจัดการระบบข้อมูลสุขภาพ (Management Health Information system)

  13. กลวิธีดำเนินการ 3.6 การสรุปผลการดำเนินงานแจ้งภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง MOdule9 : การบริหารจัดการระบบข้อมูลสุขภาพ (Management Health Information system) ที่ว่าการ อสม. อปท. DHS (CUP) ผู้นำชุมชน ส่วนราชการ โรงเรียน

  14. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. เกิดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างพื้นที่ ของภาคีเครือข่ายและภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง 2. เกิดแนวทาง/ข้อตกลงในการดำเนินงานตามบริบทพื้นที่อำเภอป่าติ้ว 3. อัตรามารดามีบุตรคนแรกอายุต่ำกว่า 20 ปี ลดลง (ผลพลอยได้)

  15. การบูรณาการเครือข่าย ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหา วัยเรียนและวัยรุ่น 1.โรงเรียนผานเกณฑมาตรฐานในโรงเรียนสงเสริมสุขภาพระดับเพชร

  16. โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชรโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร KPIs = 19 ตัว KPI ที่ 8 นักเรียนมีความรู้และทักษะอนามัยทางเพศ กิจกรรมโครงการ -stop teen mom -มุม teen mom -เชิญวิทยากรภายนอกมาให้ความรู้ -รุ่นพี่ Teen Mom แชร์ประสบการณ์ -ทีม อย.น้อยให้ความรู้เสียงตามสาย -จับคู่ Buddy รุ่นพี่-น้อง -ประสานพัฒนาสังคม(หน่วย 44) ให้ความรู้เด็ก -สนับสนุนงบประมาณ 2.จัดการเรียนการสอนในรายวิชา วิชาสุขศึกษา/เพศศึกษา 3.บูรณาการกับรายวิชาอื่น เช่น วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา 4.พัฒนาผู้เรียนเจาะจงเฉพาะวิชาเพศศึกษา ติดตามและประเมินผล

More Related