1 / 39

การวัดการเกิดโรค

การวัดการเกิดโรค. พ.ท. ผศ.ราม รังสินธุ์ พ.บ. ส.ม. DrPH ภาควิชาเวชศาสตร์ทหารและชุมชน วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า. คำถามการวิจัย 2 ระดับ. ขนาดของปัญหา ความชุกของโรคความดันสูงในประชากร มีจำนวนประชากรกี่คนที่ไม่ได้รับการบริการทางแพทย์ที่เหมาะสม ความสำพันธ์ของปัจจัยต่อการเกิดปัญหา

claudia-gay
Download Presentation

การวัดการเกิดโรค

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การวัดการเกิดโรค พ.ท. ผศ.ราม รังสินธุ์ พ.บ. ส.ม. DrPH ภาควิชาเวชศาสตร์ทหารและชุมชน วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า

  2. คำถามการวิจัย 2 ระดับ • ขนาดของปัญหา • ความชุกของโรคความดันสูงในประชากร • มีจำนวนประชากรกี่คนที่ไม่ได้รับการบริการทางแพทย์ที่เหมาะสม • ความสำพันธ์ของปัจจัยต่อการเกิดปัญหา • การเกิดโรคความดันสูงสัมพันธ์กับระดับการศึกษาหรือไม่? • ผู้ที่ไม่ได้รับบริการทางการแพทย์ที่เหมาะสมมีความสัมพันธ์กับ ท้องถิ่นที่อาศัยอยู่?

  3. คำถามการวิจัย 2 ระดับ : การวัด • ขนาดของปัญหา (วัดการเกิดโรค) • ความชุก Prevalence • อุบัติการ Incidence • ความสำพันธ์ของปัจจัยต่อการเกิดปัญหา (วัดขนาดของความสัมพันธ์) • Relative Risk ====> Cohort Study • Odds Ratio ====> Case-Control Study • Prevalence Rate Ratio ====> Cross-Sectional Study

  4. การวัดการเกิดโรค • อุบัติการ Incidence • ความชุก Prevalence

  5. การวัดการเกิดโรค

  6. การดำเนินโรค • ผลการักษา • หาย • คุมอาการได้ • พิการ • ตาย Symptoms Diagnosis แข็งแรงดี Disease Onset Seek Care Treatment ป้องกันตรงไหน – ป้องกันอะไร

  7. Clinical & Sub-clinical โรคแสดงอาการ Symptomatic โรคไม่แสดงอาการ Asymptomatic

  8. การดำเนินโรคและระดับของการป้องกันโรคการดำเนินโรคและระดับของการป้องกันโรค • ปฐมภูมิ • Primary Prevention • สร้างเสริมสุขภาพ • การให้วัคซีน ทุติยภูมิ Secondary Prevention ตติยภูมิ Tertiary Prevention Stage of Susceptibility Stage of Subclinical Stage of Clinical Stage of Recovery Disability or death ยังไม่เกิดโรค เกิดโรคแล้ว

  9. การป้องกันโรค • ระดับปฐมภูมิ Primary Prevention • ควบคุมปัจจัยเสี่ยง • การรณรงค์เลิกสูบบุหรี่, การให้วัคซีนในเด็ก • ระดับทุติยภูมิ Secondary Prevention • ลดความเสียหายจากการเกิดโรคโดยการให้การรักษาตั้งแต่ระยะที่โรคเริ่มต้น early diagnosis and treatment • การตรวจนะเร็งปากมดลูกในสตรี

  10. การป้องกันโรค • ระดับตติยภูมิ Tertiary Prevention • ลดภาวะแทรกซ้อนของการเกิดโรค • การให้การฟื้นฟูสภาพหลังการเกิดอัมพาต

  11. การให้คำจำกัดความของโรคDisease Definitions • ระบุให้ชัดเจน ว่า อะไรจะนับว่าเกิดโรคที่สนใจ • คำจำกัดความของโรค • ค่าทางห้องปฏิบัติการ • อาการ; Major and Minor criteria • การวินิจฉัยของแพทย์ในประวัติทางการแพทย์ • ICD10

  12. การวัดความถี่ของการเกิดโรคการวัดความถี่ของการเกิดโรค อัตราส่วน Ratio • ความสัมพันธ์ระหว่าง จำนวน 2 จำนวน • ตัวตั้งไม่ได้รวมอยู่ในตัวหาร • ตัวอย่าง: อัตราส่วนระหว่างผู้ป่วยชาย หญิง = 1:1

  13. การวัดความถี่ของการเกิดโรคการวัดความถี่ของการเกิดโรค สัดส่วน Proportion • อัตราส่วนที่ตัวตั้งเป็นส่วนหนึ่งของตัวหาร • มักแสดงเป็นร้อยละ • สัดส่วนของการบาดเจ็บการจราจรที่เกิดจากมอเตอร์ไซค์เท่ากับร้อยละ 81 ของการบาดเจ็บจากการจราจรทั้งหมด

  14. ประเภทยานพาหนะของผู้บาดเจ็บจากอุบัติเหตุขนส่งประเภทยานพาหนะของผู้บาดเจ็บจากอุบัติเหตุขนส่ง ระบบเฝ้าระวังการบาดเจ็บ พ.ศ.2545 รถจักรยานยนต์ (48,723 คน 81 %) แหล่งข้อมูล : 21 โรงพยาบาลเครือข่ายเฝ้าระวังการบาดเจ็บ

  15. การวัดความถี่ของการเกิดโรคการวัดความถี่ของการเกิดโรค อัตรา Rate (มี 2 นัย) • ตัวตั้งเป็นส่วนหนึ่งของตัวหาร • อัตราการบาดเจ็บจากการจราจรในพื้นที่เขต 3 เท่ากับ 81 ต่อแสนประชากร • เป็นเรื่องที่มีมิติของเวลามาเกี่ยวข้อง • อัตราอุบัติการณ์ของการติดเชื้อ HIV ในประชากรไทยช่วง 1995 -1999 เท่ากับ 0.3 ต่อ 100 person-years

  16. อัตราการบาดเจ็บในช่วงเทศกาลปีใหม่ 2546 จำแนกตามรายเขต

  17. อัตราการบาดเจ็บในช่วงเทศกาลปีใหม่ 2546 จำแนกตามรายเขต

  18. การวัดการเกิดโรค • รู้จัก การวัดพื้นฐาน ของการเกิดโรค ; • อุบัติการ และความชุก • Incidence & Prevalence

  19. Indices of Morbidity • Incidence = New cases • Prevalence = New and Pre-existing cases

  20. Death Cured 1994 1996 JAN 1995 MAY 1995 JUL 1995 SEP 1995 DEC 1995

  21. Incidence in 1995 = ? Point Prevalence at July 1995 = ? 2 4 Death Cured 1994 1996 JAN 1995 MAY 1995 JUL 1995 SEP 1995 DEC 1995

  22. Baseline Prevalence

  23. Incidence Increased Prevalence Baseline Prevalence

  24. Baseline Prevalence Decreased Prevalence Deaths Cures

  25. Incidence Prevalence Deaths Cures

  26. อัตรา • เครื่องมือที่ใช้ในระบาดวิทยาที่สำคัญคือการเปรียบเทียบอัตรา • อัตรา (Rate) = ตัวตั้ง ตัวหาร • อัตราตาย (Mortality Rate) • ความชุก (Prevalence) • อุบัติการ (Incidence)

  27. การวัด อุบัติการของการเกิดโรค มี 2 แนวทางในการวัด 1) อุบัติการสะสม Cumulative incidence = จำนวนผู้ป่วยรายใหม่ในช่วงเวลาที่กำหนด ประชากรที่เสี่ยงในช่วงเวลานั้น = 40 = 1.25 /1,000 32,000 X 10(n)

  28. การวัด อุบัติการของการเกิดโรค • 2) อัตราอุบัติการ (Incidence density or Incidence rate ) • การเพิ่ม “มิติของเวลา” ลงไปในตัวหาร “Person-time” • Person-month, Person-year • 1 Person-year = Following 1 person for 1 year period • 10 Person-year = Following 1 person for 10 year period • = Following 10 persons for 1 year period

  29. การวัด อุบัติการของการเกิดโรค • 2) อัตราอุบัติการ Incidence density or Incidence rate = จำนวนผู้ป่วยรายใหม่ในช่วงเวลาที่กำหนด จำนวน Person-years of ของการติดตามในช่วงไม่เกิดโรค • หากติดตามคน 100 คนในเวลา 1 ปีและพบว่า 20 คนเกิดโรค อัตราอุบัติการคือ • 20 cases/100 person-years การติดตาม • 20 = 20 / 100 person-years 100 person-years X 10(n)

  30. ความสัมพันธ์ระหว่างการสูบบุหรี่กับอุบัติการความสัมพันธ์ระหว่างการสูบบุหรี่กับอุบัติการ การเกิดอัมพาต ของประชากร 118,539 คนในเวลา 8 ปี Smoking No. of stroke Person-years Incidence rate of observation /100,000 person-years Never 70 395,594 17.7 Ex-smoker 65 232,712 27.9 Smoker 139 280,141 49.6 Total 274 908,477 30.2

  31. Database of 118,539 subjects

  32. ความสัมพันธ์ระหว่างการสูบบุหรี่กับอุบัติการการเกิดอัมพาต ของประชากร 118,539 คนในเวลา 8 ปี Smoking No. of stroke Person-years Incidence rate of observation /100,000 person-years Never 70 395,594 17.7 Ex-smoker 65 232,712 27.9 Smoker 139 280,141 49.6 Total 274 908,477 30.2 Cumulative incidence = 274 / 118,539 = 2.31 / 1,000

  33. ความหมาย ความชุก Prevalence : ความน่าจะเป็นที่บุคคลจะเป็นผู้ป่วยในช่วงเวลาที่สนใจ อุบัติการ Incidence : ความน่าจะเป็น หรือความเสี่ยงที่บุคคลที่แข็งแรงดีจะเกิดการป่วยขึ้นมาในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง

  34. Meaning • Prevalence of HIV infection in Thai people = 1.5% ~ 1 million people • Prevalence: Planing for health services • Incidence of HIV in Thailand = 0.2 % per year in 1999 • Incidence: Risk of an individual developing a disease during period of time

  35. Did those who use condom regularly have lower riskfor getting HIV infection than those who did not use regularly ? • Risk Factor of interest = Reported condom use during the last 12 months • Outcome (Disease Occurrence) - Prevalence of AIDS case during the last 12 months - Prevalence of HIV infection during the last 12 months • - Incidence of AIDS case during the last 12 months • - Incidence of HIV infection during the last 12 months

  36. Standardized Mortality Ratio • Indirect Age Adjustment (Standardized Mortality Ratio) Observed # of Deaths per YearSMR = ---------------------------------------- X 100 Expected # of Deaths per Year

  37. Standardized Mortality Ratio • The SMR permits one to determine whether a death rate for one group is greater than another. • If the SMR for teachers is 105 and the SMR for nurses is 120, we can conclude that • 1. NURSES have a higher mortality than teachers, and • 2. Both teachers and nurses have a higher mortality than the general population (since both are greater than 100)

  38. Standardized Mortality Ratio • Standardized Mortality Ratio (SMR) = (Observed Deaths / Expected Deaths)X100 • SMR = (481 / 430.98)X100 = 112

More Related