870 likes | 1.15k Views
โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการระบบบำเหน็จบำนาญ ( e-pension ) สำหรับส่วนราชการฯ. สำนักงานคลังเขต 9 และสำนักงานคลังจังหวัด. พระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ. 2494. พระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ. 2539. วิธีคำนวณบำเหน็จบำนาญ. ผู้มีสิทธิรับบำเหน็จบำนาญ.
E N D
โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการระบบบำเหน็จบำนาญโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการระบบบำเหน็จบำนาญ (e-pension) สำหรับส่วนราชการฯ สำนักงานคลังเขต 9 และสำนักงานคลังจังหวัด..........
พระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ. 2494 พระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ. 2539
วิธีคำนวณบำเหน็จบำนาญวิธีคำนวณบำเหน็จบำนาญ ผู้มีสิทธิรับบำเหน็จบำนาญ เหตุแห่งบำนาญ 4 เหตุ การคำนวณเวลาราชการ
หลักฐานการขอรับบำเหน็จบำนาญปกติหลักฐานการขอรับบำเหน็จบำนาญปกติ • แบบขอรับเงินบำเหน็จบำนาญปกติสำหรับข้าราชการ (แบบ 5300) และสำหรับลูกจ้าง (แบบ 5313) • ใบรับรองเวลาทวีคูณ กอ.รมน. ฉบับจริง (ถ้ามี) • สำเนาคำสั่งอนุญาตให้ออก/ประกาศเกษียณอายุ 4. สำเนาคำสั่งเลื่อนขั้นเงินเดือน 30 ก.ย. ปีที่เกษียณ 5. สมุดประวัติหรือแฟ้ม ก.พ.7 (ฉบับจริง) 6. บัตรตรวจจ่ายค่าจ้างประจำ สำหรับลูกจ้างประจำเสมือนสมุดประวัติลูกจ้าง
ส่วนที่ 1 แบบ 5300 แบบขอรับเบี้ยหวัด บำเหน็จ บำนาญ บำนาญพิเศษ บำเหน็จดำรงชีพ หรือ เงินทดแทนข้าราชการวิสามัญออกจากราชการ ชื่อหน่วยงานผู้ขอ บำเหน็จ รหัส GFMIS บำนาญ (บำนาญ กบข.) และบำเหน็จดำรงชีพ คลังเขต 9 ผู้มีอำนาจลงนาม ส่วนราชการ+เบอร์โทรที่ติดต่อได้
ส่วนที่ 2 ชื่อ-สกุล ให้พิมพ์ดีด/คอมพิวเตอร์
ส่วนที่ 3 กรอกให้ครบถ้วน
ส่วนที่ 4 ชื่อจังหวัด สำหรับจัดส่งเอกสาร ใส่ชื่อหน่วยงานด้วย
หน้า 2 วันเริ่มรับราชการ - ออก ส่วนที่ 1 ใส่เวลาทวีคูณด้วย วันลา
เงินเดือนเดือนสุดท้าย (ไม่เป็น กบข.) XX,XXX ส่วนที่ 2
หน้าที่ 3 เงินเดือนเฉลี่ยหกสิบเดือนสุดท้าย ** หน้านี้ต้องกรอกให้ถูกต้อง ครบถ้วน**
บำเหน็จลูกจ้าง มี 2 ประเภท 1. บำเหน็จปกติ คือ เงินที่จ่ายให้ลูกจ้างประจำเมื่อออกจากงาน หรือตายโดยจ่ายเป็นเงินก้อนครั้งเดียว หรือ ขอรับเป็นรายเดือน สำหรับลูกจ้างที่มีเวลาราชการครบ 25 ปี (300 เดือน) 2. บำเหน็จพิเศษ คือ เงินที่จ่ายเป็นเงินก้อนครั้งเดียวให้ 2.1 ลูกจ้างประจำ/ลูกจ้างชั่วคราวที่ได้รับอันตราย/ป่วยเจ็บเพราะการปฏิบัติหน้าที่ 2.2 ทายาทของลูกจ้างประจำหรือลูกจ้างชั่วคราวที่รับอันตรายถึงแก่ชีวิตจากการปฏิบัติหน้าที่
วิธีการคำนวณบำเหน็จปกติวิธีการคำนวณบำเหน็จปกติ บำเหน็จปกติลูกจ้างประจำ = อัตราค่าจ้างเดือนปัจจุบัน x จำนวนเดือนที่ทำงาน / 12 **หมายเหตุ** เศษของบาทปัดทิ้ง การนับเวลาทำงานให้นับเป็นจำนวนเดือน สำหรับจำนวนเดือนถ้ามีหลายช่วงให้รวมกัน แล้วนับสามสิบวันเป็นหนึ่งเดือน เศษของเดือน ถ้าถึง 15 วัน ให้นับเป็น 1 เดือน
หลักฐานประกอบการขอรับบำเหน็จปกติลูกจ้างหลักฐานประกอบการขอรับบำเหน็จปกติลูกจ้าง 1. แบบขอรับบำเหน็จปกติ (แบบ 5313) 2. ใบรับรองสมุดประวัติและเวลาทวีคูณ (แบบ 5302) 3. สำเนาภาพถ่ายบัตรลูกจ้างประจำ 4. สำเนาประกาศเกษียณอายุ หรือคำสั่งออก 5. สำเนาคำสั่งเลื่อนขั้นค่าจ้าง (ฉบับล่าสุด) 6. ต้นฉบับ หรือสำเนาภาพถ่ายใบแสดงความเห็นของแพทย์ที่ทางราชการรับรอง (แบบ 5303) 7. สำเนามรณะบัตร และหลักฐานการเป็นทายาท 8. สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน หรือสำเนาทะเบียนทะเบียนบ้าน
ส่วนที่ 1 ชื่อหน่วยงาน และรหัส บำเหน็จปกติลูกจ้าง คลังเขต 9 ผู้มีอำนาจลงนาม ส่วนราชการที่ติดต่อได้สะดวก
ส่วนที่ 2 ขอให้ใช้พิมพ์ดีด หรือคอมพิวเตอร์ วันที่เริ่มรับราชการ วันที่ออก/เกษียณ
ส่วนที่ 3 ใส่ชื่อ+รหัสให้ครบถ้วน ที่อยู่ที่ให้จัดส่งเอกสาร กรอกให้ครบถ้วน
ส่วนที่ 1 ใส่รายละเอียดให้ครบถ้วน
ส่วนที่ 2 ค่าจ้างเดือนสุดท้าย XX,XXX
ระบบจ่ายตรงเบี้ยหวัด บำเหน็จบำนาญและเงินอื่นในลักษณะเดียวกัน (e-pension) สำหรับส่วนราชการ สำนักงานคลังเขต 9 : กรมบัญชีกลาง
ประเภทรหัส • รหัสของผู้ปฏิบัติ (80xxxxx) • รหัสของหัวหน้าส่วน/ผู้ควบคุม (89xxxxx) • รหัสนายทะเบียนบุคลากรภาครัฐ/นายทะเบียนค่ารักษา • (10xxxxx) • รหัสนายทะเบียนบำเหน็จบำนาญ (20xxxxx) • บางส่วนราชการอาจมีรหัสในการปฏิบัติมากกว่านี้ในกรณีที่ ผู้ขอและผู้เบิก ส่วนราชการได้ขอรหัสในการปฏิบัติแยกจากกัน
การบันทึกปรับปรุงข้อมูลทะเบียนประวัติการบันทึกปรับปรุงข้อมูลทะเบียนประวัติ • บุคลากรภาครัฐ(ข้าราชการ/ลูกจ้าง) • บำเหน็จบำนาญ(ผู้รับบำนาญ/บำเหน็จ/ • บำเหน็จตกทอด)
การ Login เข้าสู่ระบบ [www.cgd.go.th] ง
การ Login เข้าสู่ระบบ (ต่อ)
บันทึกปรับปรุงข้อมูลทะเบียนประวัติบันทึกปรับปรุงข้อมูลทะเบียนประวัติ นายทะเบียนบุคลากรภาครัฐ
บันทึกปรับปรุงข้อมูลทะเบียนประวัติบันทึกปรับปรุงข้อมูลทะเบียนประวัติ
บันทึกปรับปรุงข้อมูลทะเบียนประวัติบันทึกปรับปรุงข้อมูลทะเบียนประวัติ
บันทึกปรับปรุงข้อมูลทะเบียนประวัติบันทึกปรับปรุงข้อมูลทะเบียนประวัติ
บันทึกปรับปรุงข้อมูลทะเบียนประวัติบันทึกปรับปรุงข้อมูลทะเบียนประวัติ 01/10/2552
บันทึกปรับปรุงข้อมูลทะเบียนประวัติบันทึกปรับปรุงข้อมูลทะเบียนประวัติ
บันทึกปรับปรุงข้อมูลทะเบียนประวัติบันทึกปรับปรุงข้อมูลทะเบียนประวัติ
บันทึกปรับปรุงข้อมูลทะเบียนประวัติบันทึกปรับปรุงข้อมูลทะเบียนประวัติ
บันทึกปรับปรุงข้อมูลทะเบียนประวัติบันทึกปรับปรุงข้อมูลทะเบียนประวัติ
ระบบบำเหน็จบำนาญ (e-pension) สำหรับ ส่วนราชการผู้ขอ
ขั้นตอนการทำงานของส่วนราชการผู้ขอขั้นตอนการทำงานของส่วนราชการผู้ขอ 1. ลงทะเบียนรับ-> พิมพ์ SLIP ลงทะเบียนรับ 2. บันทึกแบบขอรับ -> พิมพ์รายงานแบบขอรับ 3. บันทึกส่งข้อมูล 4. ตรวจสอบการตีกลับแบบขอรับ (กรณี บันทึกข้อมูลไม่ถูกต้อง) 5. พิมพ์รายงานสรุปแบบคำขอ
การ LOG IN เข้าสู่ระบบ ผู้ปฏิบัติงาน
1. ลงทะเบียนรับ [ เมนู บันทึกข้อมูล -> ลงทะเบียนรับ ] 1.1 กดปุ่ม “เพิ่มข้อมูล”
1. ลงทะเบียนรับ (ต่อ) 1.2 กรอกเลขประจำตัวประชาชน และกดปุ่ม “ค้นหา”
1. ลงทะเบียนรับ (ต่อ) 1.3 กรอกข้อมูลให้ครบ และกดปุ่ม “บันทึก”
1. ลงทะเบียนรับ (ต่อ) - ประเภทเงิน • กรอกประเภทเงิน ตามแบบขอรับเงินเบี้ยหวัด บำเหน็จบำนาญ และเงินอื่นในลักษณะเดียวกัน - ประเภทเรื่อง • เรื่องปกติ สำหรับ การขอรับเงินใด ๆ ในระบบเป็นครั้งแรก • เรื่องเพิ่ม สำหรับ การขอรับเงินเพิ่มทุกประเภท • เรื่องกันส่วน สำหรับ เงินบำเหน็จตกทอด
1. ลงทะเบียนรับ (ต่อ) 1.4 บันทึกรายการเรียบร้อย
1. ลงทะเบียนรับ (ต่อ) 1.5 พิมพ์ SLIP ลงทะเบียน
2. บันทึกแบบขอรับและข้อมูลประกอบ [เมนู บันทึกข้อมูล -> บันทึกแบบขอรับ]2.1 หมวดข้อมูลประวัติ
2. บันทึกแบบขอรับและข้อมูลประกอบ (ต่อ)2.2 หมวดข้อมูลแบบขอรับ
2. บันทึกแบบขอรับและข้อมูลประกอบ (ต่อ) 2.3 หมวดข้อมูลบันทึกสัญญาค้ำประกัน (ถ้ามี)
2. บันทึกแบบขอรับและข้อมูลประกอบ (ต่อ) 2.4 หมวดข้อมูลบัญชีธนาคาร
2. บันทึกแบบขอรับและข้อมูลประกอบ (ต่อ) 2.5 หมวดข้อมูลเงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือน
2. บันทึกแบบขอรับและข้อมูลประกอบ (ต่อ) 2.5 หมวดข้อมูลเงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือน (ต่อ)
2. บันทึกแบบขอรับและข้อมูลประกอบ (ต่อ) 2.5 หมวดข้อมูลเงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือน (ต่อ)