250 likes | 500 Views
แนวทางการส่งเสริมผลิตทุเรียน. รายชื่อเจ้าหน้าที่ผู้ร่วมวิเคราะห์ข้อมูล. 1. นายสมพร แสงกลิ่น สสข. 2 จ.ราชบุรี 2. นายสนชัย เพ็ชรพรหม สสข. 2 จ.สุราษฎร์ 3. นายสุชาติ จันทร์เหลือง จังหวัด จันทบุรี 4. นายธนดล วงษ์ขันธ์ จังหวัด ศรีสะ เกษ 5. นายสังคม ชุมสุข จังหวัด ชุมพร
E N D
แนวทางการส่งเสริมผลิตทุเรียนแนวทางการส่งเสริมผลิตทุเรียน
รายชื่อเจ้าหน้าที่ผู้ร่วมวิเคราะห์ข้อมูลรายชื่อเจ้าหน้าที่ผู้ร่วมวิเคราะห์ข้อมูล 1. นายสมพร แสงกลิ่น สสข. 2 จ.ราชบุรี 2. นายสนชัย เพ็ชรพรหมสสข. 2 จ.สุราษฎร์ 3. นายสุชาติ จันทร์เหลือง จังหวัด จันทบุรี 4. นายธนดล วงษ์ขันธ์ จังหวัด ศรีสะเกษ 5. นายสังคม ชุมสุข จังหวัด ชุมพร 6. น.ส.วรนุช สีแดง สสข.3จ.ระยอง 7. นายโชคดี วิรุณกาญจน์ จังหวัด ยะลา 8. นางสมพิศ ขวัญสูงเนิน จังหวัดอุทัยธานี
สถานการณ์การผลิตทุเรียนของประเทศไทยสถานการณ์การผลิตทุเรียนของประเทศไทย ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
การวิเคราะห์ศักยภาพการแข่งขันของทุเรียนการวิเคราะห์ศักยภาพการแข่งขันของทุเรียน NEW Wave Opportunity ตลาดโลก Star Attractiveness Trouble Question Mark ตลาดอาเซียน Falling Star Competitiveness
ศักยภาพการแข่งขันของทุเรียนในตลาดโลกศักยภาพการแข่งขันของทุเรียนในตลาดโลก Star : ผลผลิตได้มาตรฐานที่ดี มีการวิจัยและพัฒนาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของผลผลิต ไทยเป็นผู้ผลิตรายใหญ่ของโลก อย่างไรก็ดีไทยมีต้นทุนการผลิตที่สูง และระบบชลประทานยังไม่เอื้ออำนวย
ศักยภาพการแข่งขันของทุเรียนในตลาดอาเซียนศักยภาพการแข่งขันของทุเรียนในตลาดอาเซียน Falling Star : ผลผลิตได้มาตรฐานที่ดี มีการวิจัยและพัฒนาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของผลผลิต แต่ต้นทุนการผลิตที่สูง และระบบชลประทานที่ยังไม่เอื้ออำนวย ทำให้ส่งออกได้น้อย เพราะความต้องการในอาเซียนอยู่ในระดับต่ำ
สภาพการผลิตทุเรียนของประเทศในอาเซียนสภาพการผลิตทุเรียนของประเทศในอาเซียน • ทุเรียนเวียดนาม • สายพันธุ์ที่นิยมได้แก่ Ri 6 , 9-Hoa และหมอนทอง • ผลผลิตพันธุ์หมอนทองส่งออก 90% • ทุเรียนอินโดนีเซีย • มีหลากหลายสายพันธุ์ทั้งพันธุ์ป่า และพันธุ์ปลูก มีทั้งเนื้อสีเหลือง และสีรุ้ง อินโดนีเซีย มีพื้นที่เป็นเกาะ ทำให้ต้นทุนการขนส่งสูง มีฝนตกชุก อากาศร้อนชื้น ทำให้เกิดปัญหาโรครากเน่าโคนเน่าได้ง่าย ชาวอินโดนีเซียชอบทุเรียนสุกจัด เนื้อเละ กลิ่นแรง
สภาพการผลิตทุเรียนของประเทศในอาเซียนสภาพการผลิตทุเรียนของประเทศในอาเซียน • ทุเรียนกัมพูชา • ปลูกมากในจังหวัดกัมปงจาม กำปอต และ • กำปงโสม นิยมปลูก3 พันธุ์คือ กระดองกิต (ทรงผลยาว เนื้อเหลือง) หมอนทอง และชะนี (อกคัก) • หมอนทอง ได้รับความนิยมสูงสุด เพราะขายได้ราคาดี
ช่วงเวลาการเก็บเกี่ยวผลผลิตทุเรียนในอาเซียนช่วงเวลาการเก็บเกี่ยวผลผลิตทุเรียนในอาเซียน นอกฤดูของจันทบุรี และระยอง ตราด ก.พ – มี.ค ในฤดูของจันทบุรี ตราด และระยอง เม.ย– ก.ค ทุเรียนของอุตรดิตถ์ และ ศรีสะเกษมิ.ยก.ค ทุเรียนจากลาว มิ.ย - ก.ด เวียดนาม ก.ค – ส.ค และ ก.พ – มี.ค กัมพูชา พ.ค – มิ.ย อินโดนีเซีย ก.ค – ธ.ค มาเลเซีย มิ.ย – พ.ย ในฤดูของภาคใต้ มิ.ย – ก.ย นาทวี สงขลา นอกฤดูของภาคใต้ ต.ค – ม.ค ยะลา
ต้นทุนการผลิตทุเรียนในประเทศไทยต้นทุนการผลิตทุเรียนในประเทศไทย บาท/ไร่
ข้อได้เปรียบ–เสียเปรียบของทุเรียนไทย กับประเทศอาเซียน
ปัญหาในการส่งเสริมการผลิตทุเรียนปัญหาในการส่งเสริมการผลิตทุเรียน 1. ด้านคน 1.1 เกษตรกรผู้ผลิต - สูงอายุ - ขาดเทคโนโลยีการผลิต - ขาดการรวมกลุ่ม (ผลิต รวมผลผลิต) ที่เข้มแข็ง - ขาดแคลนแรงงาน
ปัญหาในการส่งเสริมการผลิตทุเรียนปัญหาในการส่งเสริมการผลิตทุเรียน 1. ด้านคน 1.2 เจ้าหน้าที่ - ขาดความรู้ ทักษะ เทคโนโลยีการผลิต (เจ้าหน้าที่ที่บรรจุใหม่ หรือแหล่งปลูก/ผลิตใหม่) - การส่งเสริมบางพื้นที่ไม่ปลอดภัย ( 3 จังหวัด ชายแดนใต้)
ปัญหาในการส่งเสริมการผลิตทุเรียนปัญหาในการส่งเสริมการผลิตทุเรียน 2. สภาพพื้นที่ 2.1พื้นที่ไม่เหมาะสม สูง/ลาดชัน การถือครอง มีปัญหาเรื่อง GAP 2.2แหล่งน้ำไม่เพียงพอตลอดฤดูการผลิต 2.3การขนส่งในสวนลำบาก ยุ่งยาก ไม่ปลอดภัย
ปัญหาในการส่งเสริมการผลิตทุเรียนปัญหาในการส่งเสริมการผลิตทุเรียน 3.ปัญหาพืช 3.1ต้นพันธุ์ (ต้นตอไม่ต้านทานโรค) 3.2ทุเรียน มีศัตรูรบกวนมาก อ่อนแอต่อโรค เช่น รากเน่าโคนเน่า ราสีชมพู ไรแดง และเพลี้ย 3.3การจัดการคุณภาพผลผลิต - อ่อน (เก็บเกี่ยวไม่เหมาะสม) - หนอนเจาะเมล็ด เจาะผล - เน่า ผลเน่า เนื้อแกน เต่าเผา(การแตกใบอ่อน) - ไส้ซึม (ปริมาณฝนมาก)
แนวโน้มในการเพิ่ม-ลดพื้นที่ปลูกทุเรียนแนวโน้มในการเพิ่ม-ลดพื้นที่ปลูกทุเรียน • มีแนวโน้มการเพิ่มพื้นที่ปลูก เนื่องจาก • ราคาผลผลิตดี เกษตรกรปลูกเพิ่มขึ้น • ตลาดใน / ต่างประเทศ ต้องการเพิ่มขึ้น • ผลตอบแทนต่อไร่สูง • เกษตรกรลดพื้นที่พืชเศรษฐกิจอื่น (ยาง , ปาล์ม) มาปลูกทุเรียน (พื้นที่เหมาะสม / มีน้ำเพียงพอ)
แนวทางการส่งเสริมการผลิตทุเรียนแนวทางการส่งเสริมการผลิตทุเรียน สถานะ: Falling star วิสัยทัศน์: พัฒนาคุณภาพทุเรียน ไทยให้เป็นผู้นำใน AEC
มาตรการรองรับวิสัยทัศน์มาตรการรองรับวิสัยทัศน์ • มาตรการเชิงรุก • ๑. การพัฒนาองค์กรเกษตรกร • รวมกลุ่มที่มีแนวคิดเดียวกัน ด้านการผลิต รวบรวม • และการจำหน่าย • อบรมความรู้เรื่องการตัดทุเรียนให้แก่ มือตัด มือคัด ผู้ประกอบการ และเกษตรกร • ๒. การลดต้นทุน • - ส่งเสริมการใช้ปุ๋ยให้ถูกต้องตามหลักวิชาการ
ผลิตปุ๋ยใช้เองจากวัสดุที่มีในท้องถิ่นผลิตปุ๋ยใช้เองจากวัสดุที่มีในท้องถิ่น • รวมกลุ่มจัดหาปัจจัยการผลิตต่างๆ • ๓. เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต • - รณรงค์สร้างจิตสำนึกให้เกษตรกรเก็บเกี่ยวทุเรียน • ในระยะที่เหมาะสม • ผลิตตามหลัก GAP และข้อกำหนดของประเทศคู่ค้า • ๔. การสร้างอัตลักษณ์ • ทำ GIทุเรียนประเทศไทย • ติดสติกเกอร์ และเล่าเรื่องราวของทุเรียน (story)
๕. การขยายตลาด • ประชาสัมพันธ์ และการส่งเสริมการบริโภค • จัด Road show • แนะนำการบริโภค • ประชาสัมพันธ์และการส่งเสริมการบริโภคใน • ประเทศ และต่างประเทศ • - ส่งเสริมนวัตกรรมใหม่ๆ ในการแปรรูปทุเรียน เพื่อเพิ่มมูลค่า • - ท่องเที่ยวเชิงเกษตร
๖. อื่นๆ โดยการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ ให้ทราบถึงบทลงโทษของการค้าทุเรียนอ่อน • มาตรการเชิงรับ • ๑. พัฒนาระบบชลประทาน • สนับสนุนการจัดหาแหล่งน้ำในการทำสวนทุเรียน • อย่างทั่วถึง(แหล่งน้ำ และท่อน้ำดิบ)กรมชลประทาน • กรมพัฒนาที่ดิน , สปก. , อปท. • ๒. ศึกษาวิจัยเชิงลึก • - วิจัยหาอุปกรณ์ หรือเทคโนโลยีที่ช่วยในการตรวจสอบความสุกแก่ของทุเรียนโดยไม่ต้องผ่าผลทุเรียน
- วิจัยหาสายพันธุ์ที่มีความต้านทานต่อโรค • Phythopthoraและการสุกแก่พร้อมกัน • ๓. ศึกษาการตลาดผลไม้ • วิจัยเส้นทางการขนส่ง • ศึกษารสนิยมในการบริโภคทุเรียน • ศึกษาวิจัยไม่ให้ทุเรียนมีกลิ่น • ๔. อื่นๆ กำหนดมาตรการให้ผู้ประกอบการซื้อผลผลิตจากผู้ตัดที่มีบัตร
Out Put - ไม่มี/ลดลง ของทุเรียนด้อยคุณภาพ(อ่อน) ออกสู่ตลาด - เพิ่มผลผลิตทุเรียนที่มีคุณภาพเพื่อการส่งออกได้ 80% ของผลผลิตทั้งหมด Out Come - ปริมาณและมูลค่าการส่งออกทุเรียนเพิ่มขึ้น - มีช่องทางการตลาดเพิ่มขึ้น Impact ต้นทุนการผลิตลดลง เกษตรกรและผู้ประกอบการ มีรายได้เพิ่มขึ้น