1 / 49

วัตถุประสงค์และเป้าหมาย

วัตถุประสงค์และเป้าหมาย

Download Presentation

วัตถุประสงค์และเป้าหมาย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. วัตถุประสงค์และเป้าหมายวัตถุประสงค์และเป้าหมาย • การอนุรักษ์ดินและน้ำ และฟื้นฟูปรับปรุงดินที่มีปัญหาต่อการทำการเกษตร ประกอบด้วย การจัดทำระบบอนุรักษ์ดินและน้ำบนพื้นที่ลุ่ม-ดอน การจัดทำระบบอนุรักษ์ดินและน้ำบนพื้นที่สูงและการฟื้นฟูปรับปรุงดินที่มีปัญหา- เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชในโอกาสฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี ในปี 2549 โดยดำเนินการบูรณาการฟื้นฟู อนุรักษ์ และพัฒนาทรัพยากรดินในพื้นที่ทำการเกษตรนำร่องกระจายทุกภาคทั่วประเทศ 60 แห่ง - เพื่อรณรงค์ประชาสัมพันธ์ อบรม สร้างเครือข่ายเกษตรกร กลุ่มเกษตรกร และชุมชนในการปรับเปลี่ยนทัศนคติให้เกิดการยอมรับ เห็นประโยชน์ในการร่วมใจฟื้นฟู อนุรักษ์ พัฒนา และปรับปรุงบำรุงดินสู่ความยั่งยืนทางการเกษตร เกษตรกรได้รับประโยชน์ จำนวน 600,000 ราย- ฟื้นฟูและปรับปรุงบำรุงดินเพื่อให้มีการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อทำการเกษตรที่มีความปลอดภัยอย่างยั่งยืน มีประสิทธิภาพและไม่กระทบต่อสิ่งแวดล้อม เนื้อที่ 6,000,000 ไร่ • ผลที่คาดว่าจะได้รับ- เกษตรกรจำนวนไม่น้อยกว่า 600,000 ราย ได้รับการส่งเสริมเพื่อปรับเปลี่ยนระบบการผลิตจากเกษตรเคมีเป็นเกษตรอินทรีย์และ/หรือ เกษตรลดการใช้สารเคมี มีการดำเนินวิถีชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง โดยได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีในการจัดการทรัพยากรดินเพื่อการฟื้นฟูดินที่ถูกต้องเหมาะสมกับแต่ละพื้นที่- พื้นที่ทางการเกษตร จำนวนไม่น้อยกว่า 6,000,000 ไร่ ได้รับการฟื้นฟู อนุรักษ์ พัฒนาอย่างถูกวิธี เพื่อการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน อันจะนำไปสู่การลดต้นทุนการผลิต เพิ่มรายได้ และขยายโอกาสต่อไป- พัฒนาและสร้างเครือข่ายอาสาสมัครเกษตร และอาสาสมัครยุวเกษตร ประเภทต่างๆ ในการสนับสนุน ส่งเสริม และพัฒนาการเรียนรู้ สามารถนำไปถ่ายทอด แนะนำ ช่วยเหลือเกษตรกรในท้องถิ่น และช่วยเหลืองานของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ด้านต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

  2. ข้อมูลจังหวัดพระนครศรีอยุธยาข้อมูลจังหวัดพระนครศรีอยุธยา อาณาเขต มีเนื้อที่ประมาณ 1,597,900 ไร่ เขตการปกครอง แบ่งการปกครองออกเป็น 16 อำเภอ 209 ตำบล 1,470 หมู่บ้าน ตราประจำจังหวัด

  3. สถานภาพการทำงานของเกษตรกร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

  4. สถานภาพการถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินสถานภาพการถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดิน

  5. ต้นทุนและผลตอบแทนจากการปลูกพืชต้นทุนและผลตอบแทนจากการปลูกพืช

  6. รายได้ทั้งหมดของเกษตรกร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

  7. พื้นที่การดำเนินงาน • ที่ตั้งโครงการ • เขตพัฒนาที่ดินปีงบประมาณ 2550 ของสถานีพัฒนาที่ดินพระนครศรีอยุธยา ดำเนินการในพื้นที่หมู่ที่ 6 ตำบลสิงหนาท อำเภอลาดบัวหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา • พื้นที่การดำเนินงาน • พื้นที่การดำเนินโครงการ มีจำนวน 14,654 ไร่

  8. อำเภอลาดบัวหลวง ข้อมูลทั่วไปเป็นที่ราบลุ่ม เป็นทุ่งนาไม่มีภูเขาไม่มีแม่น้ำ มีแต่ลำคลองมีพื้นที่ประมาณ 198,923 ตารางกิโลเมตรหรือประมาณ 124,327 ไร่ การปกครองแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 7 ตำบล 58 หมู่บ้าน 1 เทศบาลตำบล จำนวนประชากร  25,710 คนชาย 12,561 คน เป็นหญิง 13,149 คน ครัวเรือนทั้งสิ้น 6,941 ครัวเรือน

  9. เกษตรกรรม • ทำนา ปีละ 2 ครั้ง นาดำและนาหว่านน้ำตม • สวนส้ม มะพร้าว มะม่วง มะละกอ และพืชผักผลไม้ยืนต้น • ทำไร่ ข้าวโพด อ้อยเคี้ยว และอ้อยคั้นน้ำ • เลี้ยงสัตว์ โคเนื้อ โคนม กระบือ แพะ สุกร เป็ด ไก่ ห่าน นกกระทาและม้า

  10. ข้อมูลพื้นที่การเกษตรข้อมูลพื้นที่การเกษตร

  11. ข้อมูลทั่วไปของตำบลสิงหนาทข้อมูลทั่วไปของตำบลสิงหนาท • การปกครอง • แบ่งการปกครองออกเป็น 7 หมู่ หมู่ที่ 1 บ้านหนองสนุ่น หมู่ที่ 2 บ้านหลุมตารอด หมู่ที่ 3 บ้านหลวงประสิทธิ์ หมู่ที่ 4 บ้านหนองสนุ่น หมู่ที่ 5 บ้านหลุมทองหลาง หมู่ที่ 6 บ้านหนองน้ำส้ม หมู่ที่ 7 บ้านหลุมทองหลาง • สภาพพื้นที่ • สภาพพื้นที่เป็นที่ราบลุ่ม มีพื้นที่ทั้งหมด 14,887 ไร่ เป็นพื้นที่ทำการเกษตร 14,654 ไร่

  12. ข้อมูลพื้นที่การเกษตรข้อมูลพื้นที่การเกษตร

  13. อาณาเขต • ทิศเหนือ ติดกับ ตำบลพระยาบันลือ อำเภอลาดบัวหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา • ทิศใต้ ติดกับ ตำบลบ่อเงิน อำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี • ทิศตะวันออก ติดกับ ตำบลบ้านม้า อำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา • ทิศตะวันตก ติดกับ ตำบลคลองพระยาบันลือ อำเภอลาดบัวหลวง จังหวัดพระนครศรี • จำนวนประชากร • ประชากร 3,318 คน • หลังคาเรือน 680 หลังคา

  14. หลักเกณฑ์ในการคัดเลือกเขตพัฒนาที่ดินหลักเกณฑ์ในการคัดเลือกเขตพัฒนาที่ดิน • พื้นที่เป็นที่ราบลุ่ม น้ำท่วมขัง • สภาพดินมีปัญหาเรื่องดินเปรี้ยว • เกษตรกรมีความต้องการให้จัดทำระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ • เกษตรกรพร้อมให้ความร่วมมือในการจัดทำโครงการ

  15. การประชุมชี้แจงเกษตรกรการประชุมชี้แจงเกษตรกร

  16. ข้อมูลจากการจัดประชุมชี้แจงเกษตรกรข้อมูลจากการจัดประชุมชี้แจงเกษตรกร • เกษตรกรมีความสนใจเข้าร่วมโครงการ • เกษตรกรมีความสามัคคีและต้องการมีส่วนร่วม • เกษตรกรมีความต้องการจัดทำระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ • เกษตรกรมีความต้องการปูนมาร์ลเพื่อปรับปรุงดินเปรี้ยว • ปุ๋ยอินทรีย์ตอบสนองการเจริญเติบโตช้ากว่าปุ๋ยเคมี • การปรับปรุงบำรุงดินโดยใช้ปุ๋ยพืชสดมีเวลาน้อย

  17. แผนที่แผนการใช้ที่ดินเขตพัฒนาที่ดินแผนที่แผนการใช้ที่ดินเขตพัฒนาที่ดิน

  18. แผนที่สภาพการใช้ที่ดินเขตพัฒนาที่ดินแผนที่สภาพการใช้ที่ดินเขตพัฒนาที่ดิน

  19. แผนที่กลุ่มชุดดิน เขตพัฒนาที่ดิน

  20. ชุดดินอยุธยา(Ayutthaya series: Ay) ลักษณะและสมบัติของดิน ลึกมาก ดินบนเป็นดินเหนียว สีเทาเข้ม ปฏิกิริยาดินเป็นกรดปานกลาง (pH 6.0) ดินล่างตอนบนเป็นดินเหนียวมี สีเทา สีน้ำตาลปนเทาหรือสีเทาน้ำตาล มีจุดประสีแดงปฏิกิริยาดินเป็น กรดจัด (pH 5.5) และพบจุดประสีเหลืองฟางข้าวที่ความลึก 100-150 ซม. จะพบผลึกของแร่ยิปซัมและรอยไถลระหว่างชั้นดินบนและดินล่าง ดิน มีกำมะถันสูงและปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดจัด (pH4.5-5.0) สภาพพื้นที่ ราบเรียบ การระบายน้ำ เลว การไหลบ่าของน้ำบนผิวดิน ช้า การซึมผ่านได้ของน้ำ ช้า พืชพรรณธรรมชาติและการใช้ประโยชน์ที่ดิน ทำนาหว่าน

  21. ชุดดินบางเขน (Bang Khen Series: Bn) ลักษณะและสมบัติของดิน เป็นดินลึก ดินบนเป็นดินเหนียว สีเทาเข้มมี จุดประสีน้ำตาลปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเป็นกลาง (pH 7.0) ดินบนตอน ล่าง เป็นดินเหนียวสีเทาถึงสีเทาปนน้ำตาลอ่อนจุดประสีน้ำตาลแก่ ดินบนมีสีเทาเข้มหรือสีดำ มีจุดประสีน้ำตาลแก่หรือสีแดงปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดเล็กน้อย (pH 6.5) ดินล่างตอนล่างเป็นดินเหนียวมีสี น้ำตาลปนเทาหรือสีเทา ปฏิกิริยาดินเป็นกรดเล็กน้อย (pH 6.5) มีจุดประ สีเหลืองปนน้ำตาลและสีแดงดินล่างลึกลงไปจะพบดินเลนสีน้ำเงิน มี ปริมาณกำมะถันต่ำ จะพบรอย สภาพพื้นที่ ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ ความลาดชัน 0-1 % อยู่สูง 2-4 เมตรจากระดับน้ำทะเล การระบายน้ำ เลว การไหลบ่าของน้ำบนผิวดิน ช้า การซึมผ่านได้ของน้ำ ช้า

  22. ชุดดินฉะเชิงเทรา (Chachoengsao Series : Cc) ลักษณะและสมบัติของดิน เป็นดินลึกมาก ดินบนเป็นดินเหนียวตลอด ดินบนมีสีเทาเข้มถึงเข้มมาก มีจุดประสีน้ำตาลหรือแดงปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัด (pH 5.5) ดินบนตอนล่างเป็นดินเหนียว สี น้ำตาลปนเทาถึงสีเทา มีจุดประสีแดงปนเหลืองและสีน้ำตาลเข้ม ปฏิกิริยาดินเป็นกลาง (pH 7.0) ดินล่างตอนล่างเป็นดินเหนียว สีน้ำตาล ปนเทา จุดประสีเหลืองปนน้ำตาล และอาจจะพบจุดประสีเหลืองฟาง ข้าวปนอยู่บ้างเล็กน้อยในระดับความลึกมากกว่า 100 ซม. จะพบดินเลน สีน้ำเงินที่มีปริมาณกำมะถันต่ำและรอยไถลในดินล่าง ปฏิกิริยาดินเป็น ด่างปานกลาง (pH 8.0) สภาพพื้นที่ ราบเรียบถึงค่อนข้างราบราบเรียบ มีความลาดชัน 0-1 % การระบายน้ำ เลว การไหลบ่าของน้ำบนผิวดิน ช้า การซึมผ่านได้ของน้ำ ช้า

  23. ชุดดินมหาโพธิ (Maha Phot Series: Ma) ลักษณะและสมบัติของดิน เป็นดินลึก ดินบนเป็นดินเหนียวมีสีดำหรือสี เทาเข้ม มีจุดประสีน้ำตาลแก่ ปฏิกิริยาดิน เป็นดินกรดจัดมากถึงกรดจัด (pH 4.5-5.5) ดินบนตอนล่าง เป็นดินเหนียวปนทรายแป้งมีสีน้ำตาลหรือ สีน้ำตาลปนเทา มีจุดประสีแดงและสีเหลืองปนน้ำตาล จะพบจุดประสี เหลืองฟางข้าว ในดินล่างลึกลงไปโดยทั่วไปลึกกว่า 1 เมตร จากผิวดิน หน้าอัดมันและรอยไถลและหน้าดินจะแตกระแหงเมื่อดินแห้ง ปฏิกิริยา ดินเป็นกรดจัดมากถึงกรดจัด (pH 4.5-5.5) ดินล่างตอนล่าง เป็นดินเลน เหนียวสีเทาเข้ม ปฏิกิริยาดินเป็นกร สภาพพื้นที่ ราบเรียบ มีความลาดชัน 0-1 % การระบายน้ำ เลว การไหลบ่าของน้ำบนผิวดิน ช้า การซึมผ่านได้ของน้ำ ช้า

  24. แผนการดำเนินงานเขตพัฒนาที่ดินแผนการดำเนินงานเขตพัฒนาที่ดิน • ส่งเสริมการใช้ปุ๋ยพืชสด 14,654 ไร่ • ส่งเสริมการปรับปรุงดินเปรี้ยว 14,654 ไร่ • จัดทำระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ 14,654 ไร่ • ส่งเสริมการผลิตและการใช้สารอินทรีย์ 14,654 ไร่ ทดแทนสารเคมี • ปลูกแฝกเฉลิมพระเกียรติ 300,000 กล้า

  25. กิจกรรมดำเนินงานปี 2550 • จัดทำระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ - บ่อน้ำในไร่นา 11 บ่อ - ส่งเสริมการปรับปรุงดินเปรี้ยวโดยใช้ปูนมาร์ล 595 ไร่ - ส่งเสริมการใช้ปุ๋ยพืชสด 500 ไร่ - ส่งเสริมการผลิตและการใช้สารอินทรีย์ทดแทน การใช้สารเคมี 2,000 ไร่ - ปลูกหญ้าแฝก 50,000 กล้า

  26. รายละเอียดการทำนาข้าวแบบเกษตรอินทรีย์ตำบลสิงหนาท อำเภอลาดบัวหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

  27. การวิเคราะห์ S W O T จุดแข็ง (Stengths) - เกษตรกรมีความสนใจกระตือรือร้น - เกษตรกรมีความสามัคคีและต้องการมีส่วนร่วม - กลุ่มเครื่อข่ายหมอดินอาสาประจำตำบล ประจำหมู่บ้านมีความ เข้มแข็ง

  28. จุดอ่อน (Weakness)- เกษตรกรบางรายไม่มีที่เกษตรกรรมเป็นของตนเอง - เกษตรกรยังขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับปรุง บำรุงดิน - เกษตรกรขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยี สมัยใหม่ - เกษตรกรขาดความเชื่อถือเกี่ยวกับการทำนาด้วยสารอินทรีย์ ชีวภาพ - เกษตรกรขาดเงินทุน ต้องกู้ยืมจากธนาคาร

  29. โอกาส (Opportunity) - อยู่ในพื้นที่เขตชลประทาน - กรมพัฒนาที่ดินให้การส่งเสริมและสนับสนุนวัสดุปรับปรุงบำรุงดิน - การวางแผนดำเนินงานโครงการด้วยภาพถ่าย ออร์โธสี - การถือครองที่ดินของเกษตรกรส่วนมากเป็นของตนเอง - หลักแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงกับทฤษฏีใหม่ตามแนวพระราชดำริ - นโยบายรัฐ - เครือข่ายกลุ่มเกษตรอินทรีย์

  30. อุปสรรค (Threats) - ปัญหาน้ำท่วมในฤดูฝน - เกษตรกรทำนาทั้งปีโดยไม่มีการพักดิน - การไม่ยอมรับในเรื่องการทำเกษตรด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ - การสนับสนุนวัสดุปรับปรุงบำรุงดินยังล่าช้าไม่ตรงฤดูกาล

  31. ผลคาดว่าที่จะได้รับ • ทรัพยากรดินได้รับการฟื้นฟู • เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวการวางแผนการใช้ที่ดินได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม • เกษตรกรลดการใช้สารเคมี • เกษตรกรสามารถลดต้นทุนการผลิต จากการใช้สารอินทรีย์-ชีวภาพ • เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น • เกษตรกรทำการเกษตรได้อย่างยั่งยืน

  32. คำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการดำเนินงานเขตพัฒนาที่ดินลุ่มแม่น้ำย่อยคำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการดำเนินงานเขตพัฒนาที่ดินลุ่มแม่น้ำย่อย

  33. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารเขตพัฒนาที่ดินลุ่มแม่น้ำย่อยคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารเขตพัฒนาที่ดินลุ่มแม่น้ำย่อย

  34. คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานเขตพัฒนาที่ดินคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานเขตพัฒนาที่ดิน

  35. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกำกับการจัดทำเขตพัฒนาที่ดินคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกำกับการจัดทำเขตพัฒนาที่ดิน

  36. งานเปิดป้ายเขตพัฒนาที่ดินงานเปิดป้ายเขตพัฒนาที่ดิน วันที่ 18 พฤษภาคม 2550 สถานที่ หมู่ที่ 6 ตำบลสิงหนาท อำเภอลาดบัวหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา การจัดงาน เวลาประมาณ 10.30 น. นายอำเภอลาดบัวหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเป็นประธานในพิธี เชิญเกษตรกร หมอดินอาสาฯ นายก อบต. เกษตรอำเภอ เกษตรตำบล เข้าร่วมเป็นเกียรติ การไถกลบตอซังข้าว แจกจ่ายปุ๋ยอินทรีย์น้ำ พด.2, พด.7 สารเร่ง พด.1, พด.2, พด.3, พด.6 และ พด.7

More Related