570 likes | 949 Views
การ ถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมาย ของระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล. โดย...นางกุลนันท์ เสนคำ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ กองแผนงาน กรมอนามัย. กรอบการนำเสนอ. 1. ความสำคัญและที่มา พ.ร.ฎ.ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 PMQA หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์
E N D
การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายของระดับองค์กรสู่ระดับบุคคลการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายของระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล โดย...นางกุลนันท์ เสนคำ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ กองแผนงาน กรมอนามัย
กรอบการนำเสนอ • 1. ความสำคัญและที่มา • พ.ร.ฎ.ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 • PMQA หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ • คำรับรองการปฏิบัติราชการของหน่วยงานในสังกัด กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2556 • 2. แนวคิดและทฤษฎี • กรอบการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ • Strategy Map (แผนที่ยุทธศาสตร์) • การถ่ายทอดตัวชี้วัดสู่ระดับสำนัก/กองและระดับบุคคล • วิธีการถ่ายทอดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย
กรอบการนำเสนอ (ต่อ) • 3. ตัวชี้วัดที่ 7 ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมาย (Cascading) สู่ระดับบุคคล • วัตถุประสงค์ • ขอบเขต • เกณฑ์การให้คะแนน • หลักฐานอ้างอิง • 4. ตัวอย่างการถ่ายทอดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายกองแผนงาน • กรอบการถ่ายทอดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายของกองแผนงาน ตามแผนปฏิบัติราชการ 4 ปีฯ กรมอนามัย • แบบฟอร์มที่เกี่ยวข้อง • 5. Q&A
1. ความสำคัญและที่มา พ.ร.ฎ.ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 หมวด 1 การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (มาตรา 6) หมวด 2 การบริหารราชการเพื่อให้เกิดประโยชน์สุข (มาตรา 7-มาตรา 8) ของประชาชน หมวด 3 การบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ (มาตรา 9-มาตรา 19) ต่อภารกิจของรัฐ หมวด 4 การบริหารราชการอย่างมีประสิทธิภาพ (มาตรา 20-มาตรา 26) และเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ หมวด 5 การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน (มาตรา 27-มาตรา 32) หมวด 6 การปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการ (มาตรา 33-มาตรา 36) หมวด 7 การอำนวยความสะดวกและการตอบสนอง (มาตรา 37-มาตรา 44) ความต้องการของประชาชน หมวด 8 การประเมินผลการปฏิบัติราชการ (มาตรา 45-มาตรา 49) หมวด 9 บทเบ็ดเตล็ด (มาตรา 50-มาตรา 53)
PMQA หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์
PMQA หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ SP5
SP5 I A D L
คำรับรองการปฏิบัติราชการของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัยประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2556 ตัวชี้วัดที่ 7 ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอดตัวชี้วัด และเป้าหมาย (Cascading) สู่ระดับบุคคล
2. แนวคิดและทฤษฎี กรอบการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์และพันธกิจ ค่าเป้าหมาย กลยุทธ์ ประเด็นยุทธศาสตร์ โครงการ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด งบประมาณ
STRATEGY MAP (แผนที่ยุทธศาสตร์) หมายถึง แผนภาพแสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างเป้าประสงค์ในแต่ละมิติที่มีความเชื่อมโยงกันในลักษณะของเหตุและผล • ความสำคัญและประโยชน์ • อธิบายแผนยุทธศาสตร์ให้ชัดเจนขึ้น • สามารถวัดและประเมินว่าองค์กรได้มีการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์หรือไม่ • เพื่อให้ผู้บริหารและบุคลากรที่เกี่ยวข้องมีความเข้าใจร่วมกันในแผนยุทธศาสตร์ • เพื่อทำให้ทั่วทั้งองค์กรมุ่งไปในทิศทางเดียวกัน • เพื่อเป็นจุดเริ่มต้นในการเชื่อมโยงไปสู่การกำหนดแผนปฏิบัติการและงบประมาณ
ตัวอย่าง : แผนที่ยุทธศาสตร์ของธุรกิจร้านขายกาแฟ
แผนที่ยุทธศาสตร์การส่งเสริมสุขภาพแผนที่ยุทธศาสตร์การส่งเสริมสุขภาพ • และอนามัยสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2553-2556 กรมอนามัย
การถ่ายทอดตัวชี้วัดสู่ระดับสำนัก/กองและระดับบุคคลการถ่ายทอดตัวชี้วัดสู่ระดับสำนัก/กองและระดับบุคคล วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ แผนที่ยุทธศาสตร์ (Strategy Map) กลยุทธ์/แผนงานโครงการ ตัวชี้วัด กลยุทธ์/ โครงการ ค่า เป้าหมาย เป้าประสงค์ งบประมาณ ตัวชี้วัด ประชาชน ภาคีเครือข่าย กระบวนการ พื้นฐานองค์กร ตัวชี้วัดระดับสำนัก/กอง ตัวชี้วัดระดับบุคคล
เป้าประสงค์และตัวชี้วัดในระดับองค์กรเป้าประสงค์และตัวชี้วัดในระดับองค์กร ขั้นตอนที่ 2 : การแปลงระบบประเมินผลจากระดับองค์การลงสู่ระดับสำนัก/กอง บทบาท หน้าที่และภารกิจของหน่วยงานที่สนับสนุนต่อเป้าประสงค์และตัวชี้วัดในระดับองค์กร บทบาท หน้าที่และ ความรับผิดชอบในงานประจำของหน่วยงาน 2.1 การทบทวนบทบาทหน้าที่ของสำนัก/กอง 2.2 กำหนดเป้าประสงค์ ระดับหน่วยงาน เป้าประสงค์ในระดับสำนัก/กอง 2.3 การจัดทำ แผนที่ยุทธศาสตร์ ระดับหน่วยงาน 2.4 การกำหนดตัวชี้วัดระดับ หน่วยงาน ตัวชี้วัดในระดับสำนัก/กอง ขั้นตอนที่ 3 : การแปลงระบบประเมินผลจากระดับสำนัก/กองลงสู่ระดับบุคคล บทบาท หน้าที่ของบุคคล ที่สนับสนุนต่อเป้าประสงค์และตัวชี้วัด ของผู้บังคับบัญชา บทบาท หน้าที่งาน ของบุคคล งานที่ได้รับ มอบหมาย เป็นพิเศษ 3.1 การทบทวน บทบาทหน้าที่/ ความรับผิดชอบของบุคคล เป้าประสงค์ในระดับบุคคล 3.5 การกำหนดตัวชี้วัด ระดับบุคคล 3.2 การกำหนดเป้าประสงค์ ระดับบุคคล ตัวชี้วัดในระดับบุคคล แนวทางในการแปลงระบบประเมินผลลงสู่ระดับบุคคล กระบวนการในการแปลง ระบบการประเมินผลลงสู่ระดับบุคคล ขั้นตอนที่ 1: การยืนยันระบบประเมินผลขององค์กร ระดับองค์กร ระดับหน่วยงาน ระดับบุคคล
ขั้นตอนการพัฒนาระบบประเมินผลระดับหน่วยงานขั้นตอนการพัฒนาระบบประเมินผลระดับหน่วยงาน ขั้นตอนที่ 1 การทบทวนบทบาทหน้าที่/ความรับผิดชอบ ของหน่วยงาน ขั้นตอนที่ 2 การกำหนดเป้าประสงค์ระดับหน่วยงาน ขั้นตอนที่ 3 การจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์ระดับหน่วยงาน ขั้นตอนที่ 4 การกำหนดตัวชี้วัดระดับหน่วยงาน ขั้นตอนที่ 5 การกำหนดค่าน้ำหนักของตัวชี้วัด ขั้นตอนที่ 6 การกำหนดเกณฑ์การให้คะแนนตัวชี้วัด และความหมายของตัวชี้วัด
ขั้นตอนการพัฒนาระบบประเมินผลระดับบุคคลขั้นตอนการพัฒนาระบบประเมินผลระดับบุคคล ขั้นตอนที่ 1 การทบทวนบทบาทหน้าที่/ความรับผิดชอบ ของบุคคล ขั้นตอนที่ 2 การกำหนดเป้าประสงค์ระดับบุคคล ขั้นตอนที่ 3 การกำหนดตัวชี้วัดระดับบุคคล ขั้นตอนที่ 4 การกำหนดค่าน้ำหนักของตัวชี้วัด ขั้นตอนที่ 5 การกำหนดเกณฑ์การให้คะแนนตัวชี้วัด และความหมายของตัวชี้วัด
ข้อควรคำนึง : ตัวชี้วัดในระดับต่างๆ คือ ตัวชี้วัดระดับบุคคลที่เป็นผู้บังคับบัญชาระดับนั้นด้วย - ตัวชี้วัดหน่วยงาน = ตัวชี้วัดของผู้บริหารหน่วยงาน (ผอ.) - ตัวชี้วัดของกลุ่มงาน = ตัวชี้วัดของหัวหน้ากลุ่มงาน - ตัวชี้วัดของบุคคล = ตัวชี้วัดของบุคลากรในกลุ่มงาน
ตัวอย่างการถ่ายทอดเป้าประสงค์และตัวชี้วัดตัวอย่างการถ่ายทอดเป้าประสงค์และตัวชี้วัด สู่ระดับหน่วยงาน
กรมบัญชีกลาง วิสัยทัศน์ “การกำกับดูแลและบริหารการใช้จ่ายเงินของแผ่นดินให้เกิดประโยชน์สูงสุด ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 กำกับดูแลทางด้านการเงินภาครัฐ ในลักษณะเชิงรุก ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาคุณภาพการให้บริการทางด้านการเงินภาครัฐ ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ การใช้จ่ายเงินภาครัฐมีความโปร่งใส ถูกต้อง คุ้มค่า และสามารถตรวจสอบได้ 2. การใช้จ่ายเงินภาครัฐมีประสิทธิภาพ สามารถผลักดันให้เงินเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจ 3. ผู้รับบริการ มีความพึงพอใจ คุณภาพ การให้บริการ 4. การพัฒนาระบบระเบียบ หลักเกณฑ์มาตรฐาน ให้ทันสมัยและเป็นสากล 5. การประชาสัมพันธ์ และสร้างความรู้ความเข้าใจ ในกฎระเบียบแก่หน่วยงานภายนอก 6. การพัฒนาคุณภาพ การให้บริการ ให้สะดวกและรวดเร็ว 7. การพัฒนาให้เป็นศูนย์กลางสารสนเทศการเงินการคลัง ที่ทันสมัยและถูกต้อง ประสิทธิภาพ การปฏิบัติราชการ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาองค์กรให้เข้มแข็ง และมีประสิทธิภาพ 8. การพัฒนาความรู้ความสามารถของบุคลากร 9. การสร้างขวัญและกำลังใจ ของบุคลากร 10. การพัฒนาระบบบริหารจัดการ ภายในองค์กร 11. การพัฒนาระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ และฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการภายในองค์กร 12. การเสริมสร้างธรรมาภิบาล ขององค์กร การพัฒนาองค์กร
ขั้นตอนที่ 1 การทบทวนบทบาทหน้าที่/ความรับผิดชอบของหน่วยงาน สำนักกำกับและพัฒนาการตรวจสอบภาครัฐ (หน่วยงานในสังกัดกรมบัญชีกลาง) ดำเนินการเกี่ยวกับการกำหนดนโยบาย มาตรฐานและระเบียบเกี่ยวกับการตรวจสอบภายในภาครัฐ รวมทั้งกำกับดูแลและการพัฒนาเกี่ยวกับการตรวจสอบภายในภาครัฐ กำกับดูแลและบริหารจัดการด้านการตรวจสอบภายในภาครัฐ พัฒนาระบบการตรวจสอบภายในภาครัฐ เพื่อให้ปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ ดำเนินการเกี่ยวกับการประเมินผลการคลังภาครัฐ ในส่วนที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรม ให้คำปรึกษาแนะนำแก่หน่วยงานภาครัฐ เกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน การควบคุมภายใน และการดำเนินการอื่นที่เกี่ยวข้อง ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย
ขั้นตอนที่ 2 การกำหนดเป้าประสงค์ระดับหน่วยงาน วิสัยทัศน์ “การกำกับดูแลและบริหารการใช้จ่ายเงินของแผ่นดินให้เกิดประโยชน์สูงสุด ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ การใช้จ่ายเงินภาครัฐมีความโปร่งใส ถูกต้อง คุ้มค่า และสามารถตรวจสอบได้ 3. ผู้รับบริการ มีความพึงพอใจ คุณภาพ การให้บริการ 4. การพัฒนาระบบระเบียบ หลักเกณฑ์มาตรฐาน ให้ทันสมัยและเป็นสากล ประสิทธิภาพ การปฏิบัติราชการ 8. การพัฒนาความรู้ความสามารถของบุคลากร 11. การพัฒนาระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ และฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการภายในองค์กร การพัฒนาองค์กร
ขั้นตอนที่ 3 การจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์ระดับหน่วยงาน ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ การตรวจสอบภายในภาครัฐเป็นไปตามมาตรฐานที่กรมบัญชีกลางกำหนด 2. ผู้รับบริการ มีความพึงพอใจ คุณภาพ การให้บริการ 3. การเสริมสร้างคุณภาพ และพัฒนาการตรวจสอบภายใน 4. การสร้างเครือข่าย ด้านการตรวจสอบและประเมินผล 5. การพัฒนาระบบประเมินผลการคลังด้านรายจ่ายภาคราชการ ประสิทธิภาพ การปฏิบัติราชการ 6. การพัฒนาความรู้ความสามารถของบุคลากร 7. การพัฒนาฐานข้อมูลด้านการตรวจสอบภายใน การพัฒนาองค์กร
ระดับกรมฯ สำนักกำกับและพัฒนาการตรวจสอบภาครัฐ การใช้จ่ายเงินภาครัฐมีความโปร่งใส ถูกต้อง คุ้มค่า และสามารถตรวจสอบได้ 2. การใช้จ่ายเงินภาคให้เงินเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจรัฐมีประสิทธิภาพ สามารถผลักดัน การตรวจสอบภายในภาครัฐเป็นไปตามมาตรฐานที่กรมบัญชีกลางกำหนด ประสิทธิผล ตามยุทธศาสตร์ 3. ผู้รับบริการ มีความพึงพอใจ 2. ผู้รับบริการ มีความพึงพอใจ คุณภาพ การให้บริการ 4. การพัฒนาระบบระเบียบ หลักเกณฑ์มาตรฐาน ให้ทันสมัยและเป็นสากล 7. การพัฒนาให้เป็นศูนย์กลางสารสนเทศการเงินการคลัง ที่ทันสมัยและถูกต้อง 5. การประชาสัมพันธ์ และสร้างความรู้ความเข้าใจ ในกฎระเบียบแก่หน่วยงานภายนอก 6. การพัฒนาคุณภาพ การให้บริการ ให้สะดวกและรวดเร็ว 3. การเสริมสร้างคุณภาพ และพัฒนาการตรวจสอบภายใน 5. การพัฒนาระบบประเมินผลการคลังด้านรายจ่ายภาคราชการ 4. การสร้างเครือข่าย ด้านการตรวจสอบและประเมินผล ประสิทธิภาพ การปฏิบัติราชการ 6. การพัฒนาความรู้ความสามารถของบุคลากร 11. การพัฒนาระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ และฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการภายในองค์กร 7. การพัฒนาฐานข้อมูลด้านการตรวจสอบภายใน 8. การพัฒนาความรู้ความสามารถของบุคลากร 9. การสร้างขวัญและกำลังใจ ของบุคลากร 10. การพัฒนาระบบบริหารจัดการ ภายในองค์กร 12. การเสริมสร้างธรรมาภิบาล ขององค์กร การพัฒนาองค์กร
ตัวอย่างการถ่ายทอดเป้าประสงค์และตัวชี้วัดตัวอย่างการถ่ายทอดเป้าประสงค์และตัวชี้วัด สู่ระดับบุคคล
OS Matrix ตัวอย่าง Owner Supporter
สำนักงานคลังเขต ส่วนตรวจสอบและติดตามประเมินผล ผอ.ส่วนตรวจสอบและติดตามฯ (คุณวาสนา) ข้าราชการส่วนตรวจสอบและติดตามฯ#1 คุณแจ่มศรี ข้าราชการส่วนตรวจสอบและติดตามฯ#2 คุณชำเรือง
ตาราง O/S สำนักงานคลังเขต
ขั้นตอนที่ 1 ทบทวนบทบาทหน้าที่/ความรับผิดชอบของบุคคล (ผอ.) ขั้นตอนที่ 2 กำหนดเป้าประสงค์ระดับบุคคล ขั้นตอนที่ 3 กำหนดตัวชี้วัดระดับบุคคล เพิ่มเติมตามบทบาทหน้าที่
คุณแจ่มศรี คุณชำเรือง
วิธีการถ่ายทอดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายวิธีการถ่ายทอดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย • 1. วิธีการถ่ายทอดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายจากบนลงล่าง • ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายเป็นตัวเดียวกันกับผู้บังคับบัญชา • ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายแบ่งส่วนจากตัวชี้วัดและเป้าหมายของผู้บังคับบัญชา • ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายเป็นคนละตัวกับผู้บังคับบัญชา 2. การสอบถามความคาดหวังของผู้รับบริการ 3. การไล่เรียงตามผังการเคลื่อนของงาน 4. การพิจารณาจากประเด็นที่ต้องปรับปรุง 5. วิธีอื่นๆ ที่เหมาะสม
3. ตัวชี้วัดที่ 7 ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมาย (Cascading) สู่ระดับบุคคล วัตถุประสงค์ เพื่อผลักดันให้เกิดความสำเร็จตามตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายในแผนยุทธศาสตร์ ซึ่งในที่นี้หมายถึง แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี พ.ศ.2556-2559 กรมอนามัยโดยมีวิธีการในการถ่ายทอดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายจากระดับกรมสู่ระดับหน่วยงานและระดับบุคคล (เฉพาะข้าราชการ) มีการสื่อสารอย่างทั่วถึง มีการจัดทำข้อตกลงเป็นลายลักษณ์อักษร (ได้แก่ แบบมอบหมายงาน) โดยมีรายละเอียดเกี่ยวกับตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย รวมถึงเกณฑ์การประเมินความสำเร็จที่สามารถวัดผลได้อย่างเป็นรูปธรรม มีการติดตามความก้าวหน้าในการปฏิบัติราชการและรายงานผลสำเร็จของตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายที่ถ่ายทอดลงไปในแต่ละระดับ
ขอบเขต • ตัวชี้วัดและเป้าหมาย ในที่นี้ หมายถึง ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี พ.ศ.2556-2559 กรมอนามัย เฉพาะตัวชี้วัดเชิงปริมาณในระดับเป้าหมายการให้บริการและผลผลิตของกรมอนามัย • การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายสู่ระดับบุคคล หมายถึง การถ่ายทอดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี พ.ศ.2556-2559 กรมอนามัย ไปสู่หน่วยงาน (ผู้อำนวยการ) กลุ่มงาน (หัวหน้ากลุ่มงาน) และข้าราชการในสังกัดหน่วยงานนั้น เฉพาะตัวชี้วัดเชิงปริมาณในระดับเป้าหมายการให้บริการและระดับผลผลิตของกรมอนามัย • ระดับบุคคล หมายความเฉพาะบุคคลซึ่งเป็นข้าราชการในสังกัดกรมอนามัย • หน่วยงานที่มีบทบาทภารกิจเกี่ยวข้องต่อการบรรลุเป้าหมายตัวชี้วัดดังกล่าว ต้องจัดทำคำรับรองฯตัวชี้วัดนี้ ได้แก่ ทุกหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย
โครงสร้างแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี พ.ศ.2556-2559 กรมอนามัย วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรหลักของประเทศในการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดี พันธกิจ • ผลิต พัฒนาองค์ความรู้ และนวัตกรรมเพื่อการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมที่มีคุณภาพและสอดคล้องกับวิถีชีวิตของคนไทย • ถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมให้กับเครือข่ายรวมไปถึงการผลักดันและสนับสนุนให้เครือข่ายดำเนินงานเป็นไปตามมาตรฐานและกฎหมายเพื่อให้ประชาชนได้รับการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมที่ดีและมีคุณภาพ • พัฒนา ผลักดัน และสนับสนุนให้เกิดนโยบายและกฎหมายที่จำเป็นในด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศ • พัฒนาระบบการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมให้เข้มแข็งรวมไปถึงระบบที่เกี่ยวข้อง โดยการกำกับ ติดตามและประเมินผลเพื่อนำมาสู่การพัฒนานโยบาย กฎหมาย และระบบอย่างต่อเนื่องและมีคุณภาพ วัฒนธรรมองค์กร HEALTH • Health Model (เป็นต้นแบบสุขภาพ) ดูแลรักษาสุขภาพตนเองเพื่อเป็นแบบอย่างแก่ผู้อื่น • Ethics (มีจริยธรรม) มีจรรยาบรรณซื่อสัตย์โปร่งใสไม่เลือกปฏิบัติและไม่แสวงหาประโยชน์ในการปฏิบัติงาน • Achievement (มุ่งผลสัมฤทธิ์) มุ่งมั่นรับผิดชอบในการปฏิบัติงานให้บรรลุเป้าหมายผลสัมฤทธิ์และตอบสนองความต้องการของลูกค้าและผู้ที่เกี่ยวข้อง • Learning (เรียนรู้ร่วมกัน) มุ่งเน้นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนางานร่วมกัน • Trust (เคารพและเชื่อมั่น) มีความเคารพในสิทธิหน้าที่ของตนเองและผู้อื่น • Harmony (เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน) มุ่งเน้นการทำงานเป็นทีมและยอมรับผลสำเร็จของทีมงานร่วมกัน
กลยุทธ์ • พัฒนาความเข้มแข็งและสร้างการมีส่วนร่วมกับภาคีเครือข่ายและสมรรถนะบุคลากรให้เป็นมืออาชีพทันต่อการเปลี่ยนแปลง • พัฒนากระบวนการกำหนด/บริหารนโยบายสาธารณะ/กฎหมายด้านสุขภาพจากฐานความรู้ที่สอดคล้องกับสภาพปัญหา/วิถีชีวิตคนไทยลงทุนเพื่อการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานระบบงานให้ได้มาตรฐานและสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ • สร้างความรู้รอบและรู้เท่าทันเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน ประเด็นยุทธศาสตร์หลัก ลดปัจจัยเสี่ยง สร้างปัจจัยเอื้อด้านสุขภาพ โดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ประเด็นยุทธศาสตร์ย่อย 1. พัฒนาอนามัยแม่และเด็ก 2. พัฒนาสุขภาพวัยรุ่นและวัยเจริญพันธุ์ 3. แก้ไขปัญหาโรคอ้วนและส่งเสริมโภชนาการคนไทย 4. พัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ 5. พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม 6. พัฒนาความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ 7. พัฒนาระบบและกลไกการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ
เป้าหมายการให้บริการกรมอนามัยเป้าหมายการให้บริการกรมอนามัย ประชาชนมีพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมเหมาะสมตามกลุ่มวัยและอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ ภาคีเครือข่ายและประชาชนพึงพอใจองค์ความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรม และการบริการด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม (ร้อยละ) (ปี 56=ร้อยละ 80) ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ จำนวนภาคี เครือข่ายที่นำองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมด้านการส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อมไปประยุกต์ใช้ (แห่ง) (ปี 56=1,030 แห่ง) ผลผลิตที่ 1 องค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมได้รับการพัฒนาและถ่ายทอดแก่ประชาชนและภาคีเครือข่าย ผลผลิตที่ 2 การให้บริการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมแก่ประชาชนในกลุ่มหรือพื้นที่เป้าหมายเฉพาะ ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ 1. จำนวนโครงการพัฒนาองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม(โครงการ)(ปี 56=22 โครงการ) 2. จำนวนประชาชนและบุคลากรภาคีเครือข่ายได้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม(ราย) (ปี 56=77,000 ราย) ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ 3. โครงการพัฒนาองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมได้มาตรฐานทางวิชาการระดับดีมาก (ร้อยละ) (ปี 56=ร้อยละ 80) ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ 1. จำนวนประชาชนในกลุ่มและพื้นที่เป้าหมายเฉพาะได้รับบริการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม (ราย) (ปี 56=9,820 ราย) ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ 2. ภาคีเครือข่ายและประชาชนในกลุ่มและพื้นที่เป้าหมายเฉพาะ พึงพอใจการบริการด้านส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม (ร้อยละ) (ปี 56=ร้อยละ 80) กิจกรรมที่ 1.1พัฒนาองค์ความรู้ด้านส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ตัวชี้วัดการพัฒนาองค์ความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรม (ด้าน) (ปี 56=3 ด้าน) กิจกรรมที่ 2.1การจัดหาและจัดการนมผงเพื่อป้องกันการติดเชื้อ เอช ไอ วี จากแม่สู่ลูก ตัวชี้วัดจำนวนแผนการจัดหาและจัดการนมผง (แผน)(ปี 56=1 แผน) กิจกรรมที่ 1.2พัฒนาคุณภาพระบบบริหารจัดการองค์กร ตัวชี้วัดจำนวนระบบบริหารจัดการองค์กรที่ได้รับการพัฒนา (ระบบ) (ปี 56=1 ระบบ) ตัวชี้วัดจำนวนโครงการที่ให้บริการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมในกลุ่มและพื้นที่เป้าหมายเฉพาะ (โครงการ)(ปี 56=5 โครงการ) กิจกรรมที่ 2.2บริการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมในกลุ่มและพื้นที่เป้าหมายเฉพาะ กิจกรรมที่ 1.3พัฒนาศูนย์เรียนรู้การส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ตัวชี้วัดจำนวนศูนย์อนามัยที่ได้รับการพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ(แห่ง) (ปี 56=2 แห่ง) กิจกรรมที่ 1.4ถ่ายทอดองค์ความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมสู่ประชาชนและภาคีเครือข่าย ตัวชี้วัดจำนวนหน่วยงานที่มีโครงการถ่ายทอดองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมเพื่อการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมสู่ประชาชนและภาคีเครือข่าย (หน่วยงาน)(ปี 56=31 หน่วยงาน) ตัวชี้วัดจำนวนภาคีเครือข่ายที่ดำเนินการพัฒนาสถานประกอบการด้านอาหาร (แห่ง) (ปี 56=76 แห่ง) กิจกรรมที่ 1.5พัฒนาอาหารปลอดภัยส่งเสริมครัวไทยสู่ครัวโลก
ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายของกรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2556 ที่รองรับแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี พ.ศ.2556-2559 กรมอนามัย เป้าหมายการให้บริการกรมอนามัย ประชาชนมีพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมเหมาะสมตามกลุ่มวัยและอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ จำนวนภาคี เครือข่ายที่นำองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมด้านการส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อมไปประยุกต์ใช้ (1,030 แห่ง) โดยตัวชี้วัดภาคีเครือข่าย ประกอบไปด้วย 1. รพ.สายใยรักแห่งครอบครัวผ่านเกณฑ์ระดับทอง 2. ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว 3. โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร 4. รพ.สังกัด สป.ผ่านเกณฑ์มาตรฐานบริการสุขภาพและ • 5. ศูนย์การเรียนรู้องค์กรต้นแบบไร้พุง อนามัยการเจริญพันธุ์ที่เป็นมิตรกับวัยรุ่นและเยาวชน 6. หน่วยบริการสาธารณสุขจัดบริการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ7. อปท. ที่มีระบบการจัดการสุขาภิบาลอาหารระดับพื้นฐาน 8. สถานบริการสาธารณสุขดำเนินกิจกรรม GREEN9. อปท.ที่มีระบบการบริการน้ำบริโภคระดับพื้นฐาน 10.ระบบประปาที่ผ่านการรับรองมาตรฐานน้ำประปาดื่มได้ 11.องค์กรส่งเสริมเด็กไทยเติบโตเต็มศักยภาพ 12.อำเภอที่ผ่านองค์ประกอบการดำเนินงานอำเภอสุขภาพดี 80 ปียังแจ๋ว ผลผลิตที่ 1 องค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมได้รับการพัฒนาและถ่ายทอดแก่ประชาชนและภาคีเครือข่าย ผลผลิตที่ 2 การให้บริการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมแก่ประชาชนในกลุ่มหรือพื้นที่เป้าหมายเฉพาะ • ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ • 1.จำนวนโครงการพัฒนาองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม(29 โครงการ) • 2.จำนวนประชาชนและบุคลากรภาคีเครือข่ายได้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรมการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม(77,000 ราย) ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ จำนวนประชาชนในกลุ่มและพื้นที่เป้าหมายเฉพาะได้รับบริการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม (9,820 ราย) โดยตัวชี้วัดกลุ่มและพื้นที่เป้าหมายเฉพาะ ประกอบด้วย 1. เด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี ที่แม่ติดเชื้อเอช ไอ วี ได้รับนมผงมาตรฐานกรมอนามัย 2. จำนวนบุคลากร ภาคี เครือข่ายและประชาชนได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพและการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพ 3. จำนวนบุคลากรได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านอนามัยแม่และเด็ก 4. จำนวนบุคลากรและประชาชนในพื้นที่เป้าหมายเฉพาะได้รับการพัฒนาด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม 5. พัฒนาภาคีเครือข่ายเพื่อส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ
กำหนดเป็นระดับขั้นของความสำเร็จ (Milestone) แบ่งเกณฑ์การให้คะแนนเป็น 5 ระดับ พิจารณาจากความก้าวหน้าของขั้นตอนการดำเนินงาน ดังนี้
หลักฐานอ้างอิง • กรอบแนวทางฯ แสดงถึงวิธีการถ่ายทอดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายฯ • แผนภาพ (Flow Chart) ความเชื่อมโยงของการถ่ายทอดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายจากระดับกรมสู่ระดับหน่วยงานและระดับบุคคล • เอกสารที่ระบุช่องทางที่สื่อสารให้บุคลากรทราบถึงกรอบแนวทาง/แผนภาพที่กำหนด • เอกสารที่ระบุว่ามีการติดตามความก้าวหน้าของการดำเนินงาน • เอกสารสรุปบทเรียน ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะในการถ่ายทอดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายตามกรอบแนวทางที่กำหนด • แหล่งข้อมูล จากทุกหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย • กองแผนงาน เป็นผู้รับผิดชอบในการจัดเก็บ ประมวล และวิเคราะห์ข้อมูล ผู้กำกับดูแลตัวชี้วัด:นายสืบพงษ์ ไชยพรรค โทรศัพท์ :0 2590 4282 ผู้อำนวยการกองแผนงาน E-mail : suebpongse.c@anamai.mail.go.th ผู้จัดเก็บข้อมูล : 1.นางศรีวิภา เลี้ยงพันธุ์สกุล โทรศัพท์ :0 2590 4288 E-mail : sripunsakul@gmail.com, sriwipa.l@anamai.mail.go.th : 2.นางกุลนันท์ เสนคำ โทรศัพท์ :0 2590 4300 :E-mail :kunlanant.s@anamai.mail.go.th หน่วยงาน: กองแผนงาน
4. ตัวอย่างการถ่ายทอดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายกองแผนงาน กรอบการถ่ายทอดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายของกองแผนงาน ตามแผนปฏิบัติราชการ 4 ปีฯ กรมอนามัย กองแผนงานกำหนดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย ตามแผนปฏิบัติราชการ 4 ปีฯ กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2556 สื่อสาร กองแผนงานกำหนดผู้รับผิดชอบและแบ่งค่าเป้าหมายให้แต่ละกลุ่มงาน สื่อสาร กลุ่มงานกำหนดผู้รับผิดชอบและแบ่งค่าเป้าหมายให้บุคลากรในกลุ่มงาน (เฉพาะข้าราชการ) สื่อสาร ข้าราชการกองแผนงานจัดทำแบบมอบหมายงาน ผู้บัญชาการแต่ละระดับประเมินผลการ ปฏิบัติราชการของข้าราชการกองแผนงาน
จำนวนประชาชนและบุคลากรภาคีเครือข่ายได้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรมการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม (77,000 ราย) ระดับกรม (อธิบดี) จำนวนประชาชนและบุคลากรภาคีเครือข่ายได้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรมการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม (700 ราย) ระดับกอง (ผอ.) หน.กลุ่มนโยบายและแผน 200 ราย หน.กลุ่มข้อมูลและประเมินผล 250 ราย หน.กลุ่มวิเทศสัมพันธ์ 70 ราย หน.กลุ่มเทคโนโลยีสารสนเทศ 180 ราย ระดับ กลุ่มงาน • จารุมน • ณุพิณ • ชุลีวรรณ • ฉัตรชัย • นุชนารถ • นุกูลกิจ • วิมล • ชัญญา • ถนอมรัตน์ • ศรีวิภา • กุลนันท์ • ศนินธร • สิริรัตน์ ระดับ บุคคล
กองแผนงาน กำหนดให้ข้าราชการที่รับผิดชอบตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายซึ่งถ่ายทอดมาจากระดับกรมและระดับหน่วยงาน ต้องกำหนดตัวชี้วัดรองรับตัวชี้วัดดังกล่าวไว้ในแบบมอบหมายงานของตนเองด้วย โดยให้น้ำหนักของตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติราชการ 4 ปีฯ มากกว่าน้ำหนักตัวชี้วัดอื่น