560 likes | 1.55k Views
3. ตลาดผู้ขายมากราย หรือ ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด (Monopolistic Competition). มีผู้ขายจำนวนมากราย ขายสินค้าที่แตกต่างกันแต่สามารถใช้แทนกันได้ (differentiated product) การเข้ามาผลิตแข่งขันหรือออกไปจากตลาดเป็นไปได้โดยเสรี. ตลาดผู้ขายมากราย.
E N D
3. ตลาดผู้ขายมากราย หรือ ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด(Monopolistic Competition) มีผู้ขายจำนวนมากราย ขายสินค้าที่แตกต่างกันแต่สามารถใช้แทนกันได้ (differentiated product) การเข้ามาผลิตแข่งขันหรือออกไปจากตลาดเป็นไปได้โดยเสรี
ตลาดผู้ขายมากราย • เส้นอุปสงค์และรายรับหน่วยสุดท้ายของหน่วยธุรกิจ • ดุลยภาพในระยะสั้นของหน่วยธุรกิจ • ดุลยภาพในระยะยาวของหน่วยธุรกิจ
เส้นอุปสงค์และรายรับหน่วยสุดท้ายของหน่วยธุรกิจเส้นอุปสงค์และรายรับหน่วยสุดท้ายของหน่วยธุรกิจ • เส้นอุปสงค์จะเป็นเส้นที่ลาดลงจากซ้ายมาทางขวาเช่นเดียวกับตลาดผูกขาด แต่ลักษณะของเส้นจะลาดกว่า • ระยะห่างของเส้นอุปสงค์จากแกนตั้ง จะแสดงถึงความนิยมในสินค้า และส่วนแบ่งตลาด P d MR 0 Q
เส้น d40 หมายถึง เส้นอุปสงค์เมื่อจำนวนหน่วยธุรกิจมีเพียง 40 ราย เส้น d70 หมายถึง เส้นอุปสงค์เมื่อจำนวนหน่วยธุรกิจมีเพียง 70 ราย ถ้าหน่วยธุรกิจในตลาดมีมาก ส่วนแบ่งตลาดก็จะลดลง เส้นอุปสงค์ของหน่วยธุรกิจ P d40 d70 Q 0
ดุลยภาพในระยะสั้นของหน่วยธุรกิจดุลยภาพในระยะสั้นของหน่วยธุรกิจ • หน่วยธุรกิจจะอยู่ในดุลยภาพเมื่อผลิต ณ จุดที่ SMC=MR • ในระยะสั้น หน่วยธุรกิจอาจอยู่ในสถานการณ์ของการมีกำไรเกินปกติ กำไรปกติ หรือขาดทุนก็ได้ ขึ้นอยู่กับลักษณะของเส้นต้นทุนและอุปสงค์ของหน่วยธุรกิจ
ดุลยภาพเกิดขึ้น ณ จุด E (SMC=MR) ผลิตสินค้าออกจำหน่าย OQ หน่วย ราคาหน่วยละ OP บาท ได้รับกำไรเกินปกติ จำนวน PABC TR = OPAQ TC = OCBQ = PABC ดุลยภาพในระยะสั้นของหน่วยธุรกิจ : กรณีต้นทุนต่อหน่วยต่ำ และสินค้าเป็นที่นิยมมาก P,R SMC SAC A P B C AR=D=P E MR Q 0 Q
ดุลยภาพในระยะยาวของหน่วยธุรกิจดุลยภาพในระยะยาวของหน่วยธุรกิจ • หน่วยธุรกิจจะเปลี่ยนไปใช้ขนาดโรงงานที่เหมาะสมที่สุด และปรับปริมาณการผลิตไปอยู่ ณ จุด LMC=MR • ในระยะยาวหน่วยธุรกิจจะได้รับเพียงแค่กำไรปกติเท่านั้น • หน่วยธุรกิจที่ประสบกับการขาดทุนก็จะออกจากตลาดไป ส่วนแบ่งตลาดของหน่วยธุรกิจที่เหลือจะสูงขึ้น • ในระยะยาวหากหน่วยธุรกิจในตลาดได้รับกำไรเกินปกติ จะเป็นการดึงดูดหน่วยธุรกิจใหม่ๆ เข้ามาสู่อุตสาหกรรม
ดุลยภาพในระยะยาวของหน่วยธุรกิจ : กรณีหน่วยธุรกิจได้รับผลขาดทุนในระยะสั้น P, C, R LMC LAC P2 P1 d2=AR2 d1=AR1 MR1 MR2 Q O Q1 Q2
ดุลยภาพในระยะยาวของหน่วยธุรกิจ :กรณีหน่วยธุรกิจได้รับกำไรเกินปกติในระยะสั้น P, C, R LMC LAC P1 P2 d1=AR1 d2=AR2 MR1 MR2 Q O Q2 Q1
ดุลยภาพในระยะยาวของหน่วยธุรกิจ (ต่อ) • เนื่องจากเส้นอุปสงค์เป็นเส้นที่ลาดลงจากซ้ายลงมาขวา ดังนั้น ปริมาณการผลิตที่ทำให้ได้รับกำไรปกติ (AR=AC) ย่อมอยู่ทางซ้ายมือของเส้น LAC • โรงงานที่ใช้ในการผลิต ณ จุดดุลยภาพในระยะยาวจึงเป็นโรงงานที่มีขนาดเล็กกว่าโรงงาน ณ จุดต่ำสุดของ LAC • ในระยะยาวหน่วยธุรกิจไม่ได้ใช้ขนาดโรงงานที่มีต้นทุนต่ำสุด (optimum scale of plant) และไม่ได้ผลิตในจำนวนที่ทำให้ต้นทุนต่อหน่วยของโรงงานที่ใช้อยู่มีค่าต่ำสุด (optimum rate of output) ซึ่งต่างกับกรณีของผู้ผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์
ดุลยภาพในระยะยาวของผู้ผลิต : โรงงานขนาดเล็ก • ดุลยภาพ : SMC=LMC=MR < SAC=LAC P,R LMC SMC LAC SAC A P AR=D=P MR Q 0 Q
4. ตลาดผู้ขายน้อยราย (Oligopoly) มีหน่วยธุรกิจจำนวนเพียงสองสามรายที่ผลิตสินค้าออกจำหน่าย สินค้ามีลักษณะแตกต่างกัน แต่สามารถใช้แทนกันได้ การเข้ามาผลิตแข่งขันในตลาด หรือการออกจากตลาดสามารถทำ ได้อย่างเสรี การกระทำของผู้ขายแต่ละรายจะกระทบต่อกัน เช่น การลดราคาสินค้าจะทำให้ผู้ขายรายอื่นมียอดขายลดลง
ตลาดผู้ขายน้อยราย • เส้นอุปสงค์และเส้นรายรับหน่วยสุดท้ายของหน่วยธุรกิจ • นโยบายของผู้ผลิตในตลาดผู้ขายน้อยราย • การรักษาราคาให้คงที่ • การแข่งขันโดยไม่ใช้ราคา • การเป็นผู้นำราคา • การรวมตัวกันระหว่างหน่วยธุรกิจ • การใช้ทฤษฎีเกมส์ในการกำหนดนโยบาย
เส้นอุปสงค์และเส้นรายรับหน่วยสุดท้ายของหน่วยธุรกิจเส้นอุปสงค์และเส้นรายรับหน่วยสุดท้ายของหน่วยธุรกิจ • เส้นอุปสงค์เป็นเส้นที่ลาดจากซ้ายลงมาทางขวา • ระยะห่างจากแกนตั้งจะอยู่ระหว่างตลาดผูกขาดและตลาดผู้ขายมากราย • ความชันจะน้อยกว่าตลาดผูกขาด แต่มากกว่าตลาดผู้ขายมากราย P d MR 0 Q
ราคาเดิม ณ OP ปริมาณซื้อ OQ การลดราคาสินค้าเป็น OP1 : คาดว่าจะขายได้P1B ขายได้จริงP1C เพราะรายอื่นก็ลดราคาลงด้วย การขึ้นราคาสินค้าเป็น OP2 : คาดว่าจะขายได้ P2D ขายได้จริง P2Eเพราะรายอื่นไม่ขึ้นราคาด้วย เส้นMR จะมี 2 ช่วง 1. นโยบายการรักษาราคาให้คงที่ : แบบจำลองอุปสงค์หักงอ(kinked demand curve model) P E D P2 P B P1 C d2 MR2 d1 MR1 Q Q 0
จุดผลิตที่ดีที่สุดคือจุดที่MC1=MRจุดผลิตที่ดีที่สุดคือจุดที่MC1=MR ผลิตสินค้าออกขายOQ หน่วย ขายในราคาOP บาท ได้รับกำไรเกินปกติ PABC การเปลี่ยนแปลงต้นทุนการผลิต ซึ่งมีผลทำให้ MC เลื่อนในช่วงEF จะไม่มีผลทำให้ปริมาณการผลิตและราคาเปลี่ยนแปลง แบบจำลองอุปสงค์หักงอ P, C, R MC2 MC1 AC2 AC1 A P B C E F d=AR Q Q MR 0
2. นโยบายการแข่งขันโดยไม่ใช้ราคา • สงครามราคา (price war) : ท้ายที่สุดจะนำมาซึ่งความเสียหายแก่หน่วยธุรกิจ • นโยบายการแข่งขันโดยไม่ใช้ราคา เช่น การปรับปรุง เปลี่ยนแปลงรูปแบบตัวสินค้า การเปลี่ยนแปลงวิธีการขาย แจกของแถม และจับฉลากรางวัล เป็นต้น • ผลกระทบจากการใช้นโยบาย • ด้านต้นทุน : ต้นทุนเพิ่มขึ้น (ต้นทุนต่อหน่วยเพิ่ม, ต้นทุนคงที่เพิ่ม) • ด้านรายรับ : หากนโยบายประสบความสำเร็จ ส่วนแบ่งตลาดมากขึ้น เส้นอุปสงค์จะเลื่อนสูงขึ้น (รายรับมากขึ้น)
นโยบายที่ทำให้ต้นทุนต่อหน่วยเพิ่มขึ้นหน่วยละเท่าๆ กัน • กรณีผลจากการดำเนินนโยบายส่งเสริมการขายที่ทำให้กำไรลดลง • หน่วยธุรกิจมีต้นทุนสูงขึ้นมากกว่ารายรับที่เพิ่ม • กรณีผลจากการดำเนินนโยบายส่งเสริมการขายที่ประสบความสำเร็จ • หน่วยธุรกิจสามารถมีรายรับเพิ่มมากกว่าต้นทุนที่สูงขึ้น
นโยบายที่ทำให้ต้นทุนต่อหน่วยเพิ่มขึ้นหน่วยละเท่าๆ กัน • กรณีผลจากการดำเนินนโยบายส่งเสริมการขายที่ประสบความสำเร็จ P, C, R MC2 MC1 AC2 A2 P2 AC1 A1 P1 B2 C2 C1 d2=AR2 B1 E2 d1=AR1 MR2 E1 MR1 Q O Q1 Q2
นโยบายที่ทำให้ต้นทุนต่อหน่วยเพิ่มขึ้นหน่วยละเท่าๆ กัน :กรณีประสบความสำเร็จ • ดุลยภาพเดิม ณ จุด E1 (MC1=MR1) • ปริมาณการผลิต OQ1ราคาสินค้า OP1 • ได้รับกำไรเกินปกติจำนวน P1A1B1C1 • ภายหลังจากการดำเนินนโยบายส่งเสริมการขาย • ต้นทุนเพิ่มขึ้นเป็น AC2และ MC2 • เส้นอุปสงค์เพิ่มขึ้นเป็น AR2และ MR2 • ดุลยภาพใหม่ ณ จุด E2 (MC2=MR2) • ปริมาณการผลิต OQ2ราคาสินค้า OP2 • ได้รับกำไรเกินปกติจำนวน P2A2B2C2 • กำไรของหน่วยธุรกิจเพิ่มขึ้นอย่างมาก
นโยบายที่ทำให้ต้นทุนต่อหน่วยเพิ่มขึ้นหน่วยละเท่าๆ กัน • กรณีผลจากการดำเนินนโยบายส่งเสริมการขายที่ทำให้กำไรลดลง P, C, R MR2 MC1 MC2 AC2 A2 P2 A1 P1 AC1 B2 C2 B1 C1 E2 d2=AR2 d1=AR1 E1 Q MR1 O Q1 Q2
นโยบายที่ทำให้ต้นทุนต่อหน่วยเพิ่มขึ้นหน่วยละเท่าๆ กัน :กรณีไม่ประสบความสำเร็จ • ดุลยภาพเดิม ณ จุด E1 (MC1=MR1) • ปริมาณการผลิต OQ1ราคาสินค้า OP1 • ได้รับกำไรเกินปกติจำนวน P1A1B1C1 • ภายหลังจากการดำเนินนโยบายส่งเสริมการขาย • ต้นทุนเพิ่มขึ้นเป็น AC2และ MC2 • เส้นอุปสงค์เพิ่มขึ้นเป็น AR2และ MR2 • ดุลยภาพใหม่ ณ จุด E2 (MC2=MR2) • ปริมาณการผลิต OQ2ราคาสินค้า OP2 • ได้รับกำไรเกินปกติจำนวน P2A2B2C2 • กำไรของหน่วยธุรกิจลดลงจากเดิม
นโยบายที่ทำให้ต้นทุนคงที่เพิ่มขึ้นนโยบายที่ทำให้ต้นทุนคงที่เพิ่มขึ้น • ยกตัวอย่างเช่น การเพิ่มงบประมาณค่าโฆษณา • ต้นทุนต่อหน่วยจะเพิ่มสูงขึ้นแต่จะไม่ขนานกับเส้นเดิม โดยระยะห่างระหว่างเส้นใหม่และเส้นเดิมจะค่อยๆ ลดลง • ต้นทุนหน่วยสุดท้ายไม่เปลี่ยนแปลง เนื่องจาก MC ไม่มีความสัมพันธ์กับ FC
นโยบายที่ทำให้ต้นทุนคงที่เพิ่มขึ้นนโยบายที่ทำให้ต้นทุนคงที่เพิ่มขึ้น P, C, R MR1 MR2 MC AC2 A2 P2 A1 AC1 P1 C2 B2 B1 C1 d2=AR2 E2 E1 d1=AR1 Q O Q1 Q2
นโยบายที่ทำให้ต้นทุนคงที่เพิ่มขึ้น (ต่อ) • ดุลยภาพเดิม ณ จุด E1 (MC=MR1) • ปริมาณการผลิต OQ1ราคาสินค้า OP1 • ได้รับกำไรเกินปกติจำนวน P1A1B1C1 • ภายหลังจากการดำเนินนโยบายส่งเสริมการขาย • ต้นทุนเพิ่มขึ้นเป็น AC2แต่ MC เป็นเส้นเดิม • เส้นอุปสงค์เพิ่มขึ้นเป็น AR2และ MR2 • ดุลยภาพใหม่ ณ จุด E2 (MC=MR2) • ปริมาณการผลิต OQ2ราคาสินค้า OP2 • ได้รับกำไรเกินปกติจำนวน P2A2B2C2 • กำไรของหน่วยธุรกิจ จะมากขึ้นหรือน้อยลง ขึ้นอยู่กับระดับที่สูงขึ้นของเส้นอุปสงค์(รายรับ) เมื่อเทียบกับต้นทุนต่อหน่วยที่เพิ่มขึ้น
3. นโยบายการเป็นผู้นำราคา (price leadership) • นโยบายการเป็นผู้นำราคา เป็นวิธีการที่ง่ายที่สุดในการขจัดปัญหาการกระทบกระทั่งระหว่างหน่วยธุรกิจ และเป็นที่ใช้อยู่โดยทั่วไป • ผู้นำราคาโดยผู้ผลิตรายใหญ่ (price leadership by dominant firm) • ผู้นำราคาโดยผู้ผลิตที่มีต้นทุนต่ำ (price leadership by a low cost firm) • Barometric price leadership • ผู้นำราคาจากการตกลงร่วมกัน (collusive price leadership)
4. นโยบายการรวมตัวกันระหว่างหน่วยธุรกิจ :การรวมตัวกันอย่างสมบูรณ์ (perfect collusion) • หน่วยธุรกิจทุกรายจะตกลงร่วมมือกันที่จะดำเนินนโยบายเดียวกันในทุกเรื่อง • ราคาสินค้ามีเพียงราคาเดียวและเป็นราคาที่กำไรรวมของกลุ่มสูงสุด • ปริมาณการผลิตทั้งหมดเป็นปริมาณการผลิตที่ MC ของกลุ่มเท่ากับMRของกลุ่ม • หน่วยธุรกิจจะได้รับการจัดสรรโควตาการผลิต • ต้นทุนแตกต่างกัน • กำไรต่อหน่วยแตกต่างกัน
นโยบายการรวมตัวกันระหว่างหน่วยธุรกิจ :การรวมตัวกันอย่างไม่สมบูรณ์ (imperfect collusion) • เป็นการรวมตัวกันอย่างหลวมๆ โดยมีข้อตกลงในการกำหนดนโยบายร่วมกันบางเรื่องเท่านั้น • เช่น ตกลงกันในเรื่องการกำหนดราคาขายไว้เป็นราคาเดียวกัน สำหรับนโยบายส่งเสริมการขายเป็นสิทธิที่หน่วยธุรกิจสามารถที่จะดำเนินการอย่างใดก็ได้
5. การใช้ทฤษฎีเกมส์ในการกำหนดนโยบาย (Games Theory) • การเลือกดำเนินนโยบายใดของหน่วยธุรกิจ ต้องใช้หลักการคาดคะเนนโยบายของคู่แข่งขันไปพร้อมๆกัน • ยกตัวอย่างเช่น
ผลของตลาดต่างๆ โดยเปรียบเทียบ ผลต่อปริมาณการผลิตและราคาสินค้าในตลาด ผลต่อการจัดสรรทรัพยากรในระบบเศรษฐกิจ ผลต่อการใช้ทรัพยากรในระบบเศรษฐกิจ ผลต่อผลประโยชน์ของสังคม
ผลต่อปริมาณการผลิตและราคาสินค้าในตลาดผลต่อปริมาณการผลิตและราคาสินค้าในตลาด • ผู้ผลิตจะผลิตสินค้า ณ จุดที่ MC=MR • ความชันของเส้น MR : ผูกขาด> ผู้ขายน้อยราย >ผู้ขายมากราย >แข่งขันสมบูรณ์ • ปริมาณการผลิต : ผูกขาด< ผู้ขายน้อยราย <ผู้ขายมากราย <แข่งขันสมบูรณ์ • ราคาสินค้า : ผูกขาด> ผู้ขายน้อยราย >ผู้ขายมากราย >แข่งขันสมบูรณ์
ผลต่อปริมาณการผลิตและราคาสินค้าในตลาดผลต่อปริมาณการผลิตและราคาสินค้าในตลาด P, C, R MC AC MRตลาดแข่งขันสมบูรณ์ MRตลาดผู้ขายมากราย MRตลาดผู้ขายน้อยราย MRตลาดผูกขาด Q O
ผลต่อการจัดสรรทรัพยากรในระบบเศรษฐกิจผลต่อการจัดสรรทรัพยากรในระบบเศรษฐกิจ • การจัดสรรทรัพยากรในระบบเศรษฐกิจเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ และต่ำสุดในตลาดผูกขาด • ในตลาดผูกขาด ผู้ผูกขาดมักกำหนดปริมาณการผลิตให้ต่ำ และตั้งราคาสูง การผลิตในปริมาณที่ต่ำจะทำให้การจัดสรรทรัพยากรเป็นไปอย่างไม่มีประสิทธิภาพ
ผลต่อการใช้ทรัพยากรในระบบเศรษฐกิจผลต่อการใช้ทรัพยากรในระบบเศรษฐกิจ • การใช้ทรัพยากรในระบบเศรษฐกิจเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ และน้อยสุดในตลาดผูกขาด • ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ : ระยะยาวหน่วยธุรกิจจะทำการผลิตด้วยขนาดโรงงานที่มีต้นทุนต่ำที่สุด (โรงงาน ณ จุดต่ำสุดของ LAC) • ตลาดผูกขาด : ระยะยาวผู้ผูกขาดอาจไม่จำเป็นต้องใช้โรงงานที่มีต้นทุนต่ำสุด (ปริมาณการผลิตต่ำ อาจใช้โรงงานขนาดเล็กเท่านั้น)
ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ จุดผลิต ณ จุด E (MC=MR) ปริมาณการผลิต OQP ราคา OPP ผลประโยชน์ต่อสังคมสุทธิ : OMEQP – OPPEQP = MPPE (เท่ากับส่วนเกินผู้บริโภค) ผลต่อผลประโยชน์ของสังคม P,R M E PP AC=MC=AR=MR Dผู้บริโภค Q 0 QP
ตลาดผูกขาด จุดผลิต ณ จุด A (MC=MR) ปริมาณการผลิต OQM ราคา OPM ผลประโยชน์ต่อสังคมสุทธิ : OMBQM – OPPAQM = PPMBA ส่วนเกินผู้บริโภค : MBPM กำไรเกินปกติของผู้ผูกขาด : ABPMPP ผลต่อผลประโยชน์ของสังคม Consumer surplus P,R Profit M PM B E A PP AC=MC=AR=MR AR=D=P MR Q 0 QM
ประสิทธิภาพและความล้มเหลวของกลไกราคาประสิทธิภาพและความล้มเหลวของกลไกราคา ประสิทธิภาพของกลไกราคาต่อระบบเศรษฐกิจ ความล้มเหลวของกลไกราคา
ประสิทธิภาพของกลไกราคาต่อระบบเศรษฐกิจประสิทธิภาพของกลไกราคาต่อระบบเศรษฐกิจ • การผลิต: กลไกราคาช่วยเลือกชนิดของสินค้าที่ผลิต และจัดสรรการผลิตให้เป็นไปตามความต้องการของสังคมได้อย่างถูกต้อง ระดับความพอใจส่วนรวมของสังคมอยู่ในระดับสูงสุด • การจัดสรรปัจจัยการผลิต: กลไกราคาทำให้การจัดสรรทรัพยากรเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยช่วยให้มีการใช้ทรัพยากรในแหล่งที่ได้ผลตอบแทนสูงสุดเสมอ
ความล้มเหลวของกลไกราคาความล้มเหลวของกลไกราคา • แม้ว่ากลไกราคาจะสามารถจัดสรรการใช้ทรัพยากรในระบบเศรษฐกิจให้เกิดประโยชน์สูงสุดก็ตาม แต่ประโยชน์ดังกล่าวจะเป็นประโยชน์ส่วนบุคคล ไม่ใช่ประโยชน์ในแง่สังคมส่วนรวม • ผลประโยชน์ภายใน ผลประโยชน์ภายนอก ผลประโยชน์สังคม • ต้นทุนภายใน ต้นทุนภายนอก ต้นทุนสังคม • ในการผลิตสินค้าที่ต้องใช้ปัจจัยการผลิตที่มีลักษณะที่แบ่งแยกไม่ได้ เช่น เครื่องมือเครื่องจักร แรงงานฝีมือ ซึ่งมีต้นทุนสูง ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ไม่สามารถก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการผลิตได้ เพราะหน่วยธุรกิจเป็นเพียงส่วนย่อยในตลาด มีประมาณการผลิตไม่มาก
ความล้มเหลวของกลไกราคา (ต่อ) • ระบบเศรษฐกิจเผชิญกับปัญหาในการใช้กลไกราคากำหนดราคาและปริมาณการผลิตสินค้าสาธารณะ (public goods) • สินค้าสาธารณะ : ทุกคนในสังคมได้รับประโยชน์เท่ากัน การใช้ประโยชน์ของบุคคลหนึ่งจะไม่กระทบต่อการบริโภคของบุคคลอื่น เช่น การป้องกันประเทศ วิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย แสงสว่างบนท้องถนน เป็นต้น • สำหรับสินค้าสาธารณะ ไม่ว่าผู้บริโภคจะจ่ายเงิน (จ่ายภาษี)เพื่อซื้อสินค้าและบริการหรือไม่ ก็จะได้รับประโยชน์เหมือนกัน ดังนั้น จึงไม่มีหน่วยธุรกิจใดอยากเข้ามาผลิตสินค้าสาธารณะ
สรุปเปรียบเทียบตลาดทั้ง 4 ประเภท
สรุปเปรียบเทียบตลาดทั้ง 4 ประเภท (ต่อ)
สรุปเปรียบเทียบตลาดทั้ง 4 ประเภท (ต่อ)