340 likes | 640 Views
C O N S U M P T I O N. การบริโภค. บทที่ 2. อาจารย์กิตติ จรรยา วัฒน์. 2.1 การบริโภค. ความหมายของการบริโภค.
E N D
C O N S U M P T I O N การบริโภค บทที่ 2 อาจารย์กิตติ จรรยาวัฒน์
ความหมายของการบริโภค • การใช้ประโยชน์จากสินค้าและบริการ เพื่อตอบสนองหรือบำบัดความต้องการของตนเอง และเพื่อนำมาเป็นปัจจัยในการผลิตสินค้าและบริการประเภทอื่นๆ อันจะตอบสนองความต้องการให้มากยิ่งขึ้นจากรายได้ที่มีอยู่อย่างจำกัด • การบริโภคแบ่งออกเป็น 2ลักษณะ • การบริโภคสินค้าคงทน (Durable Consumer Goods) • เช่น โทรทัศน์ เสื้อผ้า เครื่องประดับ และรถยนต์ • การบริโภคสินค้าไม่คงทน (Non-Durable Consumer Goods) • เช่น อาหาร - การบริโภค -
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบริโภคปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบริโภค • รายได้ (Income) • เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลมากที่สุด • ผู้บริโภคที่มีรายได้ต่างกันจะมีทางเลือกที่แตกต่างกัน • ความแตกต่างของรายได้ ทำให้ผู้บริโภคกำหนด ความต้องการที่แตกต่างกัน • ราคาสินค้า (Price) • สินค้าในตลาดมักมีความสัมพันธ์กัน • สินค้าบางชนิดใช้แทนกันได้ (Substitute goods) • สินค้าบางชนิดใช้ร่วมกัน (Complementary goods) - การบริโภค -
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบริโภค • ปริมาณสินค้าที่หาได้ (Availability of Goods) • สินค้ามาก ผู้บริโภคก็มีโอกาสที่จะซื้อมากกว่า • ปริมาณสินค้า ขึ้นอยู่กับลักษณะของการผลิต คือ • วัตถุดิบ | ความซับซ้อนของกระบวนการผลิต | ค่าจ้างแรงงาน • การโฆษณา (Advertising) • มีผลต่อการกำหนดความต้องการในการบริโภคที่ ทำให้ผู้บริโภคไม่รู้ตัว • มักอยู่ในรูปของการชวนเชื่อ ชี้ให้เห็นภาพลักษณ์ที่ดีของสินค้า • สร้างแรงจูงใจด้วยการ ลด แลก แจก แถม หรือ ส่งชื้นส่วนจับรางวัล - การบริโภค -
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบริโภคปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบริโภค • นิสัยและความเคยชิน (Habit) • ทำให้ผู้บริโภคไม่กำหนดความต้องการในการบริโภคใหม่ • ไม่สนใจว่ามีสิ่งใหม่ หรือสถานที่ใหม่ๆ แบบเดียวกันเกิดขึ้น • ประเพณีหรือธรรมเนียมปฏิบัติ (Custom) • กำหนดความต้องการบริโภคให้สอดคล้องกับรุ่นก่อน • ประเพณีนิยมทำให้ไม่ได้สิ่งที่ต้องการแท้จริง • ไม่ได้รับความพอใจสูงสุดจากการใช้เงินที่มีอยู่ • เช่น ปีใหม่ต้องซื้อกระเช้าของขวัญ วันเกิดต้องซื้อเค้ก - การบริโภค -
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบริโภค • สมัยนิยม (Fashion) • ทำให้การตัดสินใจซื้อสินค้าไม่มีความเหมาะสมกับตัวผู้บริโภคอย่างแท้จริง • การเลียนแบบการบริโภค (Imitation) • เช่น การเลียนแบบการแต่งกาย การแต่งบ้าน • เลียนแบบบุคคลที่ตนเองชอบ หรือคนที่มีชื่อเสียง • ต้องการให้สังคมยอมรับ (Social Approval) • บริโภคสินค้าและบริการชั้นดี ยี่ห้อดัง ราคาแพง • อาจไม่ใช่ความต้องการที่แท้จริง และ อาจไม่ได้รับความพอใจสูงสุดจากการบริโภค - การบริโภค -
2.2 สิทธิของผู้บริโภค - การบริโภค -
ความหมายของสิทธิของผู้บริโภคความหมายของสิทธิของผู้บริโภค • หมายถึง สิทธิมนุษยชนและการเคลื่อนไหวของผู้บริโภค ที่ทำได้บนพื้นฐานของความเป็นธรรมในด้านเศรษฐกิจและสังคม เพื่อให้เกิดความยุติธรรมและมนุษยธรรมมากขึ้นในโลก โดยทุกคนมีส่วนร่วมกันอย่างทั่วถึง • เป็นสิทธิที่จะไม่หาประโยชน์จากบุคคล หรือระบบสังคมและเศรษฐกิจ • ผู้บริโภคต้องศึกษาหาความรู้ เพื่อไม่ให้ถูกเอารัดเอาเปรียบ - การบริโภค -
สิทธิและการคุ้มครองผู้บริโภคตามกฎหมายสิทธิและการคุ้มครองผู้บริโภคตามกฎหมาย - การบริโภค -
2.3 กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคของไทย - การบริโภค -
กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค • สิทธิที่จะได้รับข่าวสารรวมทั้งคำพรรณนาคุณภาพที่ถูกต้อง • สิทธิที่จะได้รับการโฆษณาหรือการ แสดงฉลากตามความเป็นจริง และ ปราศจากพิษภัยแก่ผู้บริโภค • สิทธิที่จะได้รับทราบข้อมูลเกี่ยวกับ สินค้าหรือบริการอย่างถูกต้อง และ เพียงพอที่จะไม่หลงผิดในการซื้อสินค้า หรือรับบริการโดยไม่เป็นธรรม - การบริโภค -
กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค • สิทธิที่จะได้รับข่าวสารรวมทั้งคำพรรณนาคุณภาพที่ถูกต้อง • การโฆษณาต้องไม่ใช้ข้อความที่ไม่เป็นธรรมต่อผู้บริโภค หรือข้อความที่อาจก่อให้เกิดผลเสียต่อสังคมส่วนรวม • ข้อความที่เป็นเท็จหรือเกินความจริง • ข้อความที่ก่อให้เกิดความเข้าใจผิดในสาระสำคัญเกี่ยวกับสินค้าหรือบริการ • ข้อความที่สนับสนุนโดยตรงหรือโดยอ้อมให้กระทำผิดกฎหมายหรือศีลธรรม หรือนำไปสู่ความเสื่อมเสียต่อวัฒนธรรมของชาติ • ข้อความที่ทำให้เกิดความแตกแยกหรือเสื่อมเสียความสามัคคีของประชาชน - การบริโภค -
กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค • สิทธิที่จะมีอิสระในการเลือกหาสินค้าหรือบริการ • สิทธิที่จะเลือกซื้อสินค้าหรือรับบริการโดยความสมัครใจของผู้บริโภค และปราศจากการชักจูงใจอันไม่เป็นธรรม • หลักเกณฑ์ในการเลือกซื้อสินค้า • ตรวจดูรายละเอียดฉลากสินค้า • ตรวจดูข้อเท็จจริง • ตรวจดูเงื่อนไข วิธีใช้ คำเตือน • ตรวจดูสภาพ คุณภาพ ปริมาณ - การบริโภค -
กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค • สิทธิที่จะได้รับความปลอดภัยจากการใช้สินค้าหรือบริการ • สิทธิที่จะได้รับสินค้าหรือบริการที่ปลอดภัย มีสภาพและคุณภาพได้มาตรฐาน เหมาะสมแก่การใช้ ไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิตร่างกายหรือทรัพย์สิน • สิทธิที่จะได้รับความเป็นธรรมในการทำสัญญา • สิทธิที่จะได้รับข้อสัญญาโดยไม่ถูกเอารัดเอาเปรียบจากผู้ประกอบธุรกิจ • ก่อนและหลังการทำสัญญา ควรปฏิบัติดังนี้ • ตรวจสอบสัญญา • เก็บรักษาพยานหลักฐาน • เก็บเอกสารสัญญา • ร้องเรียนเมื่อมีการละเมิดสิทธิ - การบริโภค -
กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค • สิทธิที่จะได้รับการพิจารณาและชดเชยความเสียหาย • สิทธิที่จะได้รับการคุ้มครองและชดใช้ค่าเสียหาย เมื่อมีการละเมิดสิทธิของผู้บริโภค - การบริโภค -
กฎหมายว่าด้วยอาหาร • ลักษณะของอาหารที่ไม่ปลอดภัย • อาหารไม่บริสุทธิ์ • มีสารหรือวัตถุเคมีเจือปน, ผลิต หรือเก็บไม่ถูกสุขลักษณะ, ผลิตจากสัตว์ที่เป็นโรคติดต่อ, บรรจุในภาชนะที่ทำด้วยวัตถุที่เป็นอันตราย • อาหารปลอม • ใช้วัตถุอื่นแทน หรือคัดแยกวัตถุที่มีคุณค่าออก, อาหารที่ผลิตขึ้นเทียม, ผสมหรือปรุงแต่ง เพื่อปกปิดความด้อย, มีฉลากลวงผู้ซื้อให้เข้าใจผิด • อาหารผิดมาตรฐาน • ไม่ได้คุณภาพตามที่กำหนด ไม่ปลอดภัยในการบริโภค หรือมีสรรพคุณไม่เป็นที่เชื่อถือ หรือมีคุณค่า หรือคุณประโยชน์ต่อร่างกายในระดับที่ไม่เหมาะสม - การบริโภค -
กฎหมายว่าด้วยยา • พระราชบัญญัติ (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2530 แบ่งยาออกเป็น 9 ประเภท • ยาแผนปัจจุบัน • ยาแผนโบราณ • ยาสามัญประจำบ้าน • ยาอันตราย • ยาควบคุมพิเศษ • ยาบรรจุเสร็จ • ยาสมุนไพร • ยาใช้ภายนอก • ยาใช้เฉพาะที่ - การบริโภค -
กฎหมายว่าด้วยเครื่องสำอางกฎหมายว่าด้วยเครื่องสำอาง • พระราชบัญญัติเครื่องสำอาง พ.ศ. 2535 ได้อธิบายความหมายของเครื่องสำอางว่า • เป็นวัตถุที่สำหรับใช้ทา ถูนวด โรย พ่น หยอด ใส่ อบ หรือกระทำด้วยวิธีอื่นต่อส่วนต่างๆของร่างกาย เพื่อความสะอาด สวยงาม หรือให้เกิดความสวยงาม และรวมทั้งเครื่องประทินผิวต่างๆ ด้วย - การบริโภค - • ก่อนเลือกซื้อผู้บริโภคควรสังเกต ดังนี้ • เครื่องสำอางที่ไม่ได้รับการขึ้นทะเบียน • เครื่องสำอางที่ไม่ปลอดภัยในการใช้ • เครื่องสำอางปลอม • เครื่องสำอางผิดมาตรฐาน
กฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตรายกฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตราย • พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย อธิบายคำว่า วัตถุอันตรายหมายถึง • วัตถุระเบิดได้ • วัตถุไวไฟ • วัตถุออกซิไดซ์และเปอร์ออกไซด์ • วัตถุมีพิษ • วัตถุที่ทำให้เกิดโรค • วัตถุกัมมันตรังสี • วัตถุที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม • วัตถุกัดกร่อน • วัตถุที่ก่อให้เกิดการระคายเคือง • วัตถุที่ทำให้เกิดอันตรายแก่บุคคล สัตว์ พืช ทรัพย์ และสิ่งแวดล้อม - การบริโภค -
กฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตรายกฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตราย วัตถุอันตรายแบ่งเป็น 4 ชนิด - การบริโภค - • วัตถุอันตรายชนิดที่ 1 • การผลิต นำเข้า ส่งออก หรือการมีไว้ในครอบครองต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่กำหนด • เช่น Calcium Hypochlorite หรือ Sodium Hydroxide อยู่ในผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในการประมงและเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ • วัตถุอันตรายชนิดที่ 2 • การผลิต นำเข้า ส่งออก หรือการมีไว้ในครอบครองต้องแจ้งให้เจ้าหน้าที่ทราบก่อน และต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่กำหนด • เช่น Azamethiphos หรือ Benzyl Benzoate ที่อยู่ในผลิตภัณฑ์ในครัวเรือน รวมทั้ง สะเดา ข่า ตระไคร้หอม ที่ใช้ในการป้องกันศัตรูพืช
กฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตรายกฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตราย วัตถุอันตรายแบ่งเป็น 4 ชนิด - การบริโภค - • วัตถุอันตรายชนิดที่ 3 • การผลิต นำเข้า ส่งออก หรือการมีไว้ในครอบครองต้องรับใบอนุญาต • เช่น Azamethiphos ที่อยู่ในผลิตภัณฑ์ในบ้านเรือน, ก๊าซธรรมชาติ, ของเสียเคมีวัตถุ, ของเสียประเภทโลหะ และที่มีโลหะเป็นองค์ประกอบ เช่น ตะกั่ว ปรอท, และวัตถุอันตรายที่ใช้เป็นอาวุธเคมี • วัตถุอันตรายชนิดที่ 4 • ห้ามผลิต นำเข้า ส่งออก หรือการมีไว้ในครอบครอง • เช่น Aldicarbหรือ Calome, Captafol, ซึ่งสาธารณสุขใช้ในการกำจัดแมลง และวัตถุอันตรายที่ใช้เป็นอาวุธเคมี เช่น Ricin
กฎหมายคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถกฎหมายคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ • พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 กำหนดให้รถทุกคันต้องประกันภัย มีวัตถุประสงค์เพื่อ • ให้การคุ้มครองและให้ความช่วยเหลือแก่ ประชาชนผู้ประสบภัยจากรถ • ให้ได้รับการรักษาพยาบาลอย่างทันท่วงที กรณีบาดเจ็บ หรือช่วยเป็นค่าปลงศพกรณีเสียชีวิต • เป็นหลักประกันให้กับโรงพยาบาลว่าจะได้รับค่ารักษาพยาบาล • เป็นสวัสดิสงเคราะห์ที่รัฐมอบให้แก่ประชาชนผู้ได้รับความเสียหาย • ส่งเสริมและสนับสนุนให้การประกันภัยเข้ามามีส่วนร่วมในการบรรเทาความเดือดร้อนแก่ผู้ประสบภัยและครอบครัว - การบริโภค -
กฎหมายคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถกฎหมายคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ • กฎหมายนี้คุ้มครองเฉพาะความเสียหายที่เกิดขึ้นแก่ชีวิตร่างกายและอนามัยเท่านั้น ไม่รวมถึงความเสียหายที่เกิดขึ้นกับทรัพย์สิน เช่น ค่าซ่อมรถ • รถที่ยกเว้นไม่ต้องทำประกันภัย • รถสำหรับเฉพาะองค์พระมหากษัตริย์ พระรัชทายาท และผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ รถของสำนักพระราชวัง • รถของส่วนราชการ รถยนต์ทหาร • รถของหน่วยงานธุรการขององค์กรและ องค์กรอิสระที่จัดตั้งขึ้นตามรัฐธรรมนูญ - การบริโภค -
กฎหมายคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถกฎหมายคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ • ผู้ที่หน้าที่ต้องทำประกันภัยรถ ได้แก่ • เจ้าของรถผู้ครอบครองรถในฐานะผู้เช่าซื้อรถ • ผู้นำรถที่จดทะเบียนในต่างประเทศเข้ามาใช้ในประเทศ • ผู้ที่ฝ่าฝืนไม่ทำประกันภัยรถต้องได้รับโทษปรับไม่เกิน 10,000 บาท • ผู้ที่ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายผู้ประสบภัยจากรถ ได้แก่ • ประชาชนทุกคนที่ประสบภัยจากรถ ไม่ว่าจะเป็นผู้ขับขี่ ผู้โดยสาร คนเดินเท้า • กรณีเสียชีวิต ทายาทของผู้ประสบภัยจะเป็นผู้ได้รับความคุ้มครอง - การบริโภค -
กฎหมายคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถกฎหมายคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ • ค่าเสียหายเบื้องต้น • กฎหมายกำหนดให้บริษัทหรือกองทุนทดแทนผู้ประสบภัย จะต้องจ่ายแก่ผู้ประสบภัย ภายใน 7 วัน โดยไม่ต้องรอพิสูจน์ถึงความรับผิด • ค่าเสียหายส่วนที่เกินจากค่าเสียหายเบื้องต้น • บริษัทจะชดใช้ให้ภายหลังจากที่มี การพิสูจน์ความรับผิดตามกฎหมายแล้ว โดยบริษัทประกันภัยรถที่เป็นฝ่ายผิด ต้องเป็นผู้ชดใช้ - การบริโภค -
กฎหมายคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถกฎหมายคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ - การบริโภค - ≤50,000บ. 100,000บ. :1 ≤15,000บ. 35,000บ. :1 ≤50,000บ.
จบบทที่ 2การบริโภค Next บทที่ 3 การคลัง