1 / 23

การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 11

การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 11. อาจารย์ ดร . นฤมล รักษาสุข. 11. องค์การแห่งการเรียนรู้. 11.1 แนวคิดขององค์การแห่งการเรียนรู้ 11.2 บทบาทของผู้บริหารศูนย์สารสนเทศในการสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้. 11.1 แนวคิดขององค์การแห่งการเรียนรู้.

Download Presentation

การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 11

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดการศูนย์สารสนเทศหน่วยที่ 11 อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข

  2. 11. องค์การแห่งการเรียนรู้ 11.1 แนวคิดขององค์การแห่งการเรียนรู้ 11.2 บทบาทของผู้บริหารศูนย์สารสนเทศในการสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้

  3. 11.1 แนวคิดขององค์การแห่งการเรียนรู้ องค์การแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) หมายถึง องค์การที่มุ่งเน้นและจูงใจให้สมาชิกทุกคนมีความกระตือรือล้นที่จะพัฒนาศักยภาพของตนเองและขององค์การเพื่อให้สามารถปรับตัวให้เท่าทันการ เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วทั้งในด้าน

  4. 11.1 แนวคิดขององค์การแห่งการเรียนรู้ เศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม และยากแก่การพยากรณ์ว่าจะเกิดอะไรขึ้น บุคลากรในองค์การ จึงต้องพัฒนาตนเองให้เป็นผู้ที่เรียนรู้อยู่ตลอดเวลา เพราะความรู้ที่เคยมีมาในอดีตถูกท้าทายโดยความรู้ใหม่

  5. 11.1 แนวคิดขององค์การแห่งการเรียนรู้ ที่เกิดขึ้นตลอดเวลา (ธเนศ ขำเกิด องค์กรแห่งการเรียนรู้ วารสารส่งเสริมเทคโนโลยี 25, 137 (ก.พ.-มี.ค. 2541): 171-174.)

  6. วินัย 5 ประการของ Peter M. Senge Peter M. Senge ศาสตราจารย์แห่ง MITผู้คิดค้นทฤษฎีองค์การแห่งการเรียนรู้ได้เสนอแนวคิดว่าการที่จะทำให้หน่วยงานเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ได้ต้องอาศัยวินัย 5 ประการ ดังนี้

  7. วินัย 5 ประการของ Peter M. Senge 1. บุคคลรอบรู้ (Personal Mastery) 2) กรอบความคิด (Mental Models) 3) วิสัยทัศน์ร่วม (Share Vision) 4) การเรียนรู้เป็นทีม (Team Learning) 5) ความคิดเป็นระบบ (System Thinking)

  8. 1. บุคคลรอบรู้ (Personal Mastery) • “Organizations learn only through individuals who learn. Individual learning does not guarantee organizational learning. But without it no organizational learning occurs” (Senge, P.M., 1990: 139).

  9. 1. บุคคลรอบรู้ (ต่อ) • องค์การเรียนรู้ผ่านบุคคลที่มีการเรียนรู้ การที่บุคคลเรียนรู้ไม่ได้เป็นสิ่งประกันว่าองค์การจะมีการเรียนรู้ แต่การเรียนรู้ขององค์การจะเกิดขึ้นต่อเมื่อบุคคลมีการเรียนรู้

  10. 2) กรอบความคิด (Mental Models) • กรอบความคิดของบุคคลมีอิทธิพลต่อแนวทางการปฏิบัติของแต่ละบุคคล อีกทั้งเป็นต้นเหตุของการแสดงพฤติกรรมต่างๆในองค์การ เป็นการสร้างโลกทัศน์ หรือความคิดความเข้าใจของคนที่มีต่อตนเอง ผู้อื่น หรือสิ่งที่อยู่รอบๆตัว

  11. 2) กรอบความคิด (ต่อ) ได้แก่ การคิดเชิงบวก คิดแตกต่าง การคิดริเริ่ม การคิดอย่างยืดหยุ่น

  12. 3) วิสัยทัศน์ร่วม (Share Vision) • จุดมุ่งหมายขององค์การแห่งการเรียนรู้ คือ การผลักดันให้บุคคลในองค์การทุกคนมีข้อสัญญาผูกมัดโดยอาศัยจุดประสงค์ร่วมกัน บนพื้นฐานของการเป็นหุ้นส่วนหรือพันธมิตร

  13. 3) วิสัยทัศน์ร่วม (ต่อ) • สิ่งดังกล่าวจะเกิดขึ้นได้ต่อเมื่อมีการแลกเปลี่ยนแนวความคิดซึ่งกันและกันและในที่สุดจะนำไปสู่ความสอดคล้องระหว่างวิสัยทัศน์ขององค์การและวิสัยทัศน์ของบุคคล ส่งผลให้บุคคลปฏิบัติหน้าที่ด้วยความผูกพัน มิใช่เพียงแค่ทำตามหน้าที่

  14. 4) การเรียนรู้เป็นทีม (Team Learning) “Team learning is vital because teams, not individuals, are the fundamental learning unit in modern organizations.” (p.10)

  15. 4) การเรียนรู้เป็นทีม (ต่อ) • การเรียนรู้เป็นทีมเป็นสิ่งสำคัญ เนื่องจากทีมมิใช่ปัจเจกบุคคลที่เป็นพื้นฐานการเรียนรู้ในองค์การสมัยใหม่

  16. 4) การเรียนรู้เป็นทีม (ต่อ) • ในองค์การแห่งการเรียนรู้ไม่ควรปล่อยให้บุคคลใดบุคคลหนึ่งเก่งอยู่แต่ผู้เดียวในองค์การ ควรสร้างบรรยากาศให้เกิดการแลกเปลี่ยนความคิดซึ่งกันและกัน ทั้งในรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ ก่อให้เกิดเป็นความรู้ภายในองค์การ

  17. 4) การเรียนรู้เป็นทีม (ต่อ) • โดยวิธีการ อาจตั้งทีมเรียนรู้เพื่อพิจารณาความเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมภายนอกองค์การและความเป็นไปภายในองค์การ เพื่อนำมาแลกเปลี่ยนแนวคิดและนำไปสู่ข้อกำหนดในการปรับปรุงองค์การให้มีประสิทธิภาพ

  18. 5) ความคิดเป็นระบบ (System Thinking) • คือความสามารถในการมองแบบองค์รวมไม่มองแบบแยกส่วน ความสามารถในการวิเคราะห์ความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันของปัจจัยต่างๆ

  19. บทบาทของผู้บริหารศูนย์สารสนเทศในการสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้บทบาทของผู้บริหารศูนย์สารสนเทศในการสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้ • มีความมุ่งมั่นต่อการเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ • สื่อสารวิสัยทัศน์เกี่ยวกับองค์การแห่งการเรียนรู้ออกไปทั่วองค์การ

  20. บทบาทของผู้บริหารศูนย์สารสนเทศในการสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้บทบาทของผู้บริหารศูนย์สารสนเทศในการสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้ • สร้างวัฒนธรรมแห่งการเรียนรู้และการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง • เป็นแบบอย่างของความมุ่งมั่น ผูกพันต่อการเรียนรู้

  21. 11.2 บทบาทของผู้บริหารศูนย์สารสนเทศในการสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้ • ส่งเสริมให้บุคลากรได้คิด พูดคุยเพื่อให้ได้แนวคิดใหม่ๆ (คิดแตกต่าง) • ส่งเสริมให้มีการคิดวิเคราะห์เพื่อหาสาเหตุของปัญหาและหาทางแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์ (คิดแบบองค์รวม)

  22. บทบาทของผู้บริหารศูนย์สารสนเทศในการสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้บทบาทของผู้บริหารศูนย์สารสนเทศในการสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้ • ส่งเสริมให้มีการจัดการความรู้ (Knowledge Management) โดยการแสวงหา สร้าง จัดเก็บ และถ่ายโอนความรู้ • ส่งเสริมให้มีการทำงานในรูปของคณะทำงาน

  23. บทบาทของผู้บริหารศูนย์สารสนเทศในการสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้บทบาทของผู้บริหารศูนย์สารสนเทศในการสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้ • บริหารโดยใช้หลักประชาธิปไตย • กระจายอำนาจการตัดสินใจ • ยกย่องให้รางวัลในความสำเร็จ มองความล้มเหลวเป็นการเรียนรู้

More Related