1 / 72

UPDATE DM AND METABOLIC SYNDROME

UPDATE DM AND METABOLIC SYNDROME. Theptarin Diabetes Center. Foundation for the Development of Diabetes Care. สมาคมเภสัชโรงพยาบาล. lifestyle building. Conference Center Service Apartments Dental Center Kidney Center Eye Center Foot Center Diabetes and Endocrine Center

Download Presentation

UPDATE DM AND METABOLIC SYNDROME

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. UPDATE DM AND METABOLIC SYNDROME Theptarin Diabetes Center Foundation for the Development of Diabetes Care สมาคมเภสัชโรงพยาบาล

  2. lifestyle building • Conference Center • Service Apartments • Dental Center • Kidney Center • Eye Center • Foot Center • Diabetes and Endocrine Center • Dietetic Center and Restaurant • Fitness Swimming Pool and Spa • Weight Management Center • Medical Specialties Center • Family Care Physician Center

  3. ความจริงของโรคเบาหวานความจริงของโรคเบาหวาน ทุกๆ 1% ของ HbA1c ที่ลดลงสามารถลดการเกิดโรคแทรกซ้อนของหลอดเลือดขนาดเล็กได้ 40% การลดความดันโลหิตลงในคนไข้เบาหวานสามารถลดการเกิดโรคแทรกช้อนของหัวใจและหลอดเลือด (เส้นเลือดตีบที่หัวใจ อัมพาต อัมพฤกษ์ ได้ 33-50% และลดโรคแทรกซ้อนของหลอดเลือดขนาดเล็กได้ 33% ทุกๆ 10 mm ปรอทของความดันที่ลดลงจะลดโรคแทรกซ้อนของเบาหวานลงได้ 12% ลดค่าความดันตัวล่างจาก 90mm ปรอทเหลือ 89 mm ปรอท จะลดโรคแทรกซ้อนของหัวใจและหลอดเลือดในคนไข้เบาหวานลงไปได้ 50%

  4. ความจริงของโรคเบาหวานความจริงของโรคเบาหวาน ลด LDL Cholesterol ลดอัตราการเกิดโรคแทรกซ้อนจากโรคหัวใจหลอดเลือดได้ 20-50% ค้นพบและรักษาโรคแทรกซ้อนของตาป้องกันตาบอดได้ 50-60% การดูแลรักษาเท้าเบาหวานอย่างครบวงจรสามารถลดการตัดขาลงได้ 45-85% การค้นพบโรคแทรกซ้อนของไตแต่เนิ่นๆด้วยการวัดระดับ MAU และให้ยากลุ่ม ACE-I และ ARB สามารถลดการเกิดไตวายได้ 30-70%

  5. lสสสllสสสlllllllllllllllllllk

  6. เบาหวานกลายเป็นโรคระบาดได้อย่างไรเบาหวานกลายเป็นโรคระบาดได้อย่างไร

  7. 1900 JOSLIN CLINIC รถยนต์ ลิฟท์ บันไดเลื่อน โทรทัศน์ รีโมต คอมพิวเตอร์ อาหารจานด่วน น้ำขวด อาหารกรุบกรับ WW I 1920 การค้นพบอินสุลิน คณะราษฏร์ 1930 NPH Insulin Founding of ADA 1940 WW II การค้นพบยาปฏิชีวนะ 1950 Sulfonylurea สฤษณ์ 1960 ถนอม 1970 ๑๔ ตุลา ADA Separation of Type 1 and Type 2 DM 1980 Syndrome X 1990 DCCT พฤษภาทมิฬ Epidemiology of DM UKPDS 2000 DPP DREAM ACCORD ADVANCE VADT

  8. worldwide alarm for DIABETES

  9. ท่านทราบไหมว่าคนเป็นเบาหวานเสียชีวิตจากโรคอะไรมากที่สุด

  10. Accident/suicide Others 2% 12% 1% Tuberculosis Neoplasm Unspecified 3% 10% Infections 7% Diabetic coma 3% Myocardial Kidney failure infarction 3% 35% Gangrene 3% Stroke 22% Causes of death in type 2 diabetes Panzram, G. : Mortality and Survival in Type 2 Diabetes; Diabetologia 30,120-131, 1987

  11. The Majority of Acute Mls Occur in people With Unrecognized Abnormal Glucose Tolerance 33% of Normal 35% of Normal IGT Normal by OGTT 20% Known DM 31% of Normal DM * “Normal” are those presenting with acute MI without known diabetes, baseline capillary glucose >200 mg/dL years or creatinine >2.2 mg/dL who could provide consent Norhammer. Lancet2002;359:2140-4

  12. PATHOGENESIS OF ATHEROSCLEROSIS

  13. โรคเบาหวานและโรคหัวใจมีรากเหง้าเดียวกันและเป็นกรรมพันธ์ ท่านทราบหรือไม่ว่ามันคืออะไร

  14. ความดันสูง อ้วน น้ำตาลสูง ช่วงชีวิตของการเป็นเบาหวาน กรรมพันธ์ IR ผู้สูงอายุ ผู้ใหญ่ เด็ก IR หลอดเลือดอักเสบและการเกิดตะกรันในหลอดเลือด เบาหวาน ไขมันสูง เส้นเลือดขนาดเล็ก ๓ต เซลเบต้าที่สร้างอินสุลินตาย เส้นเลือดตีบที่หัวใจ สมองและเท้า

  15. ระยะเวลาของการเกิดโรคเบาหวานและความผิดปกติทางสรีระวิทยาระยะเวลาของการเกิดโรคเบาหวานและความผิดปกติทางสรีระวิทยา ความดื้อต่ออินสุลินและการทำงานผิดปกติของเซลเบต้าเป็นมาก่อนเป็นเบาหวานเป็นเวลานาน ปัจจัยที่ทำให้น้ำตาลสูงขึ้นจนเป็นเบาหวานและการที่เบาหวานเป็นรุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆเป็นเพราะการทำงานของเซลเบต้าที่ทำงานน้อยลงไม่ใช่ความดื้อต่ออินสุลิน กว่าจะเป็นเบาหวานร้อยละ๕๐ของเซลเบต้าก็ตายไปแล้ว การผลิตน้ำตาลจากตับมากขึ้น เบาหวาน PREDIABETES 100% การทำงานผิดปกติของเซลเบต้า ความดื้อต่ออินสุลิน 100% ความต้านทาน ต่อน้ำตาลปกติ เบาหวานเป็นมากขึ้น วินิจฉัยว่าเป็นเบาหวาน IGT NGT = normal glucose tolerance, IGT = impaired glucose tolerance, T2D = type 2 diabetes Bell D. Treat Endocrinol 2006; 5:131-137; Butler AE et al. Diabetes 2003;52:102-110; Del Prato S and Marchetti P. Diabetes Tech Therp 2004;6:719-731 Gastaldelli A, et al Diabetologia 2004:47:31-39; Mitrakou A, et al. N Engl J Med 1992; 326:22-29; Halter JB, et al. Am J Med 1985;79S2B:6-12

  16. หลอดเลือดขนาดเล็กที่ตาคือคำจำกัดความของเบาหวานหลอดเลือดขนาดเล็กที่ตาคือคำจำกัดความของเบาหวาน

  17. Diagnostic threshold based on prevalence of retinopathy Glycosylated hemoglobin (HbA1c) Fasting plasma glucose (FPG) 2-hour plasma glucose (PG) 15 10 5 0 Retinopathy (%) FPG (mg/dl) 2- hour PG (mg/dl) HbA1c (%) 42- 34- 3.3- 87- 75- 4.9- 90- 86- 5.1- 96- 102- 5.4- 98- 112- 5.5- 101- 120- 5.6- 104- 133- 5.7- 109- 154- 5.9- 120- 195- 6.2- 93- 94- 5.2- Adapted from Diabetes Care 1999;22(Suppl 1):S5-S19.

  18. น้ำตาลตอนเช้ายิ่งสูงก็ยิ่งเสี่ยงที่จะเสียชีวิตจากโรคหัวใจและหลอดเลือดมากขึ้นถึงแม้จะยังสูงไม่ถึงระดับเป็นเบาหวานน้ำตาลตอนเช้ายิ่งสูงก็ยิ่งเสี่ยงที่จะเสียชีวิตจากโรคหัวใจและหลอดเลือดมากขึ้นถึงแม้จะยังสูงไม่ถึงระดับเป็นเบาหวาน

  19. Participants: N = 1612 consecutive patients Had a PCI 1994-1998 Angina or a previous MI Mean age = 62; 74% men Follow up: 2.8 +/- 1.2 yrs Results: 61% IFG/DM N (%) Mortality (%) Adj. Hazard * FPG < 110 (6.1) 630 (39) 12 (1.9) 1 FPG 110-125 (6.1-6.9) 305 (19) 20 (6.6) 3.2 (1.5-6.5) FPG > 126 (7) 283 (18) 27 (9.5) 4.1 (2.1-8.2) Established DM 394 (24) 44 (11.2) 5.0 (2.6-9.6) * Adjusted for age, # vessels (single, double, triple) Dysglycemia Rate : PCI in Clinical CAD Muhlestein et al. AM Ht Journal 2003;351

  20. We are late in the diagnosis of diabetes b-Cell Function (%) -6 2 6 10 12 10 -2 0 14 Years From Diagnosis 100 75 50 25 0 IGT Postprandial Hyperglycemia Type 2 Diabetes Phase I Type 2 Diabetes Phase III Type 2 Diabetes Phase II Lebovitz H. Diabetes Review 1999;7:139-153.

  21. Diabetes Care 2007: 30: 263-269

  22. ท่านทราบไหมว่าเบาหวานป้องกันได้ด้วยวิธีใดท่านทราบไหมว่าเบาหวานป้องกันได้ด้วยวิธีใด

  23. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

  24. 40 30 Cumulative Incidence of Diabetes (%) 20 10 0 3.5 3.0 4.0 2.5 0 0.5 1.0 1.5 2.0 Year Cumulative Incidence of Diabetes DIABETES PREVENTION PROGRAM Placebo 2002 Metformin Lifestyle NEJM Feb 7,2002

  25. PRINCIPLE OF PREVENTION • Life Style Modification • Early Diagnosis • Beta Cell Preservation

  26. Prediabetesไม่ทำอะไรแล้วมีปัญหาไหมPrediabetesไม่ทำอะไรแล้วมีปัญหาไหม

  27. น้ำตาลหลังอาหารสูงเป็นพิษหรือไม่น้ำตาลหลังอาหารสูงเป็นพิษหรือไม่

  28. แต่การที่ไม่ควบคุมน้ำตาลให้ดีตั้งแต่เป็นใหม่ๆทำให้การเสียชีวิตจากโรคหัวใจหลอดเลือดเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ๕๗แต่การที่ไม่ควบคุมน้ำตาลให้ดีตั้งแต่เป็นใหม่ๆทำให้การเสียชีวิตจากโรคหัวใจหลอดเลือดเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ๕๗

  29. DCCT/EDIC: Glycaemic control reduces the risk of non-fatal MI, stroke or death from CVD in type 1 diabetes 9 Conventional treatment HbA1C (%) 8 Intensive treatment 7 0 Years 1 2 3 4 5 6 7 8 9 11 12 13 14 15 16 17 10 DCCT (intervention period) EDIC (observational follow-up) 0.06 0.04 0.02 0.00 57% risk reduction in non-fatal MI, stroke or CVD death*(P = 0.02; 95% CI: 12–79%) Conventionaltreatment Cumulative incidence of non-fatal MI, stroke or death from CVD Intensivetreatment 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 Years DCCT (intervention period) EDIC (observational follow-up) *Intensive versus conventional treatment Adapted from DCCT. N Engl J Med 1993; 329:977–986. DCCT/EDIC. JAMA 2002; 287:2563–2569. DCCT/EDIC. N Engl J Med 2005; 353:2643–2653.

  30. หลอดเลือดขนาดใหญ่

  31. น้ำตาลหลังอาหารสูงมีความเสี่ยงต่อโรคหัวใจหลอดเลือดมากกว่าน้ำตาลตอนเช้าอดอาหารน้ำตาลหลังอาหารสูงมีความเสี่ยงต่อโรคหัวใจหลอดเลือดมากกว่าน้ำตาลตอนเช้าอดอาหาร

  32. ทำอย่างไรจึงจะวินิจฉัย PREDIABETES ได้

  33. Consecutive pts: 2107 in-pts; 2854 out-pt elective CV consults in Europe (71% men; mean age 66) % 100 90 80 70 60 50 40 30 20 10 0 49% 42% IFG IGT DM OGTT FPG FPG OGTT Acute admission Elective consultation Dysglycemia > Normoglycemia in Acute and Stable CV Disease • OGTT in 923 in-pts • & 997 elective pts • before discharge or • within 2 mo. Euro Heart Survey Bartnik et al; Eur Ht J 2004; 1880

  34. การคัดกรอง

  35. การวินิจฉัย Pre-diabetes น้ำตาลตอนเช้า อดอาหาร น้ำตาล๒ชั่วโมง หลังดื่มกลูโคส เบาหวาน เบาหวาน 126 mg/dl 200 mg/dl Impaired fasting Impaired glucose glucose tolerance IFG IGT 140 mg/dl 100 mg/dl ปกติ ปกติ “Pre-diabetes” * Diagnosis of diabetes can also be made based on unequivocal symptoms and a random glucose >200 mg/dL Adapted from American Diabetes Association. Diabetes Care 2004;27:S5-S10.

  36. Screening tests for diabetes • Fasting plasma glucose • Random plasma glucose • A1C

  37. การคัดกรองหา PREDIABETES และความเสี่ยงการเกิดโรคหัวใจหลอดเลือดต้องทำ OGTT

  38. คนที่ควรได้รับการคัดกรองหาPrediabetesคนที่ควรได้รับการคัดกรองหาPrediabetes • ประวัติครอบครัว • อ้วน • ความดันโลหิตสูง • ไขมันในเลือดสูง • น้ำตาลสูงตอนท้อง (GDM) • คลอดลูกน้ำหนักเกิน ๔ กก • PCOS • ประวัติ CVD (MI Stroke PAD) IGT IFG • ประวัติเกิดมาตัวเล็ก • Age over 45 years old AACE Consensus Endocr Pract: 2008; 14(7):933-946

  39. ความสำคัญของ OGTT • น้ำตาลตอนเช้าอดอาหารอย่างเดียวจะพลาดการวินิจฉัยเบาหวานไปร้อยละ๕๐ • OGTT เป็นวิธีเดียวที่จะพบคนที่เป็น IGT • ควรทำ OGTT ในทุกคนที่มีน้ำตาลเช้าก่อนอาหาร(FPG) 110-125 mg/dl เพื่อดูสภาวะความต้านทานต่อน้ำตาล

  40. เจาะน้ำตาลตอนเช้าอย่างเดียวเจาะน้ำตาลตอนเช้าอย่างเดียว จะพลาดการวินิจฉัยโรคเบาหวานไปมากกว่าครึ่ง และจะพลาดการวินิจฉัยคนที่มีความเสี่ยงส่วนใหญ่ น้ำตาล๒ชั่วโมงหลังกลูโคส (มก/ดล) (มก/ดล) <140 140-199 >200 21968 2562 น้ำตาล ตอนเช้า อดอาหาร (มก/ดล) <100 893 2020 100-125 mg/dl >126

  41. Type 2 Diabetes mellitus: Tip of the Iceberg โรคแทรกซ้อน ของหลอดเลือดขนาดใหญ่ โรคแทรกซ้อนของหลอดเลือดขนาดเล็ก TG HDL เบาหวานประเภทที่๒ ขั้นที่๓ น้ำตาลหลังอาหารสูง น้ำตาลก่อนอาหารปกติ ขั้นที่๒ ความต้านทาน ต่อน้ำตาลบกพร่อง การหลั่งอินสุลินลดลง หลอดเลือดอักเสบ ระดับอินสุลินเพิ่ม ความดื้อต่ออินสุลิน อ้วน ขั้นที่๑ น้ำตาลปกติ ความดันโลหิตสูง ประวัติครอบครัว เบาหวานตอนท้อง PCOS

  42. ลำดับของความเสี่ยงฃองโรคเบาหวานและโรคหัวใจและหลอดเลือดลำดับของความเสี่ยงฃองโรคเบาหวานและโรคหัวใจและหลอดเลือด ความเสี่ยง(จากสูงไปหาต่ำ) เบาหวาน IGT + IFG IGT IFG ปกติ

More Related