1.61k likes | 3.92k Views
มนุษย์กับสังคม (Man and Society). บทที่ 1 วิวัฒนาการของสังคมมนุษย์. เนื้อหา 1. ความหมายของสังคม 2. สังคมมนุษย์ 2.1 ความหมาย 2.2 โครงสร้าง 2.3 หน้าที่ 3. วิวัฒนาการของสังคม. 1. ความหมายของสังคม.
E N D
มนุษย์กับสังคม(Man and Society) บทที่ 1 วิวัฒนาการของสังคมมนุษย์ • เนื้อหา 1. ความหมายของสังคม 2. สังคมมนุษย์ 2.1 ความหมาย 2.2 โครงสร้าง 2.3 หน้าที่ 3. วิวัฒนาการของสังคม
1. ความหมายของสังคม • สังคม: เป็นกลุ่มคนที่มักรวมอยู่อย่างถาวร มักมีความสนใจร่วมกันหรือคล้ายกันภายในพื้นที่เดียวกัน มีวิถีชีวิตร่วมกันและมีความรู้สึกเป็นกลุ่มเดียวกัน (บรรพต วีระศักดิ์ 2520)
สังคมคือกลุ่มของมนุษย์กลุ่มหนึ่งซึ่งมีส่วนร่วมในระบบการกระทำที่สามารถเลี้ยงตนเองได้(A self sufficient system of action) ซึ่งสามารถดำรงอยู่ได้นานกว่าอายุของมนุษย์คนหนึ่ง ที่อย่างน้อยจะต้องแสวงหาสมาชิกใหม่ด้วยวิธีการผสมพันธุ์ ตามธรรมชาติ (Cohen)
ลักษณะความสำคัญของสังคมลักษณะความสำคัญของสังคม 1. องค์การที่มีเขตแดน ทางภูมิศาสตร์ 2. สัตว์สปีชีส์เดียวกัน 3. มีการตอบโต้ระหว่างสมาชิก 4. มีการพึ่งพาอาศัยกัน 5. องค์กรอิสระ
สาระสำคัญของสังคม 1. การอยู่ร่วมกันเป็นกลุ่ม ( Group Living) 4. มีสมาชิกใหม่ ( MakerShip) 2. มีระบบความคิด ความเชื่อ ค่านิยม และบรรทัดฐาน ( Idea,Belief,Value anf Norm) 3. มีการแบ่งหน้าที่และมีความร่วมมือ Function and Coorperation)
ลักษณะต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิต ในการอยู่รวมกันเป็นสังคม 1. ลักษณะสากลของสิ่งมีชีวิตทั้งหลาย 2. ลักษณะกึ่งพิเศษของมนุษย์ • การเรียนรู้ • สัญชาตญาณ • 3. ลักษณะพิเศษ • วัฒนธรรม
การเรียนรู้ (Learning)และสัญชาตญาณ (Instinct) การเรียนรู้ :การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและมีลักษณะเป็นการปรับตัวเพื่อให้อยู่รอด สัญชาตญาณ :แบบแผนการโต้ตอบที่กำหนดไว้โดยลักษณะทางชีววิทยาทำให้มนุษย์สามารถปรับตัวให้เข้ากับสภาวะที่เปลี่ยนแปลงได้อย่างรวดเร็ว
สังคมสัตว์ เป็นระบบชีวะสังคม (Bio-social system) แต่สังคมมนุษย์ เป็นระบบสังคมวัฒนธรรม (Socio-cultural system) ชีวิตสังคมของมนุษย์เป็นเรื่องของวัฒนธรรมทั้งสิ้น • สังคมที่เรียกว่าสังคมล้าหลังว่า primitive society เพราะสังคมนี้มีแต่ภาษาพูดแต่ไม่มีภาษาเขียน • วัฒนธรรม เป็นวิธีที่มนุษย์ใช้ตอบสนองความต้องการจำเป็นของชีวิต 3 ประการได้แก่ • 1.ความต้องการปัจจัยสี่ • 2.ความต้องการทางจิตใจ • ความต้องการทางสังคม
2. สังคมมนุษย์ Aristotle : มนุษย์เป็นสัตว์สังคม(Social Animal)
ความหมาย: คนจำนวนหนึ่งที่เป็นอิสระจากกลุ่มอื่น (relatively independent)และสามารถดำรงอยู่สืบเนื่องยาวนานได้ด้วยตนเอง(self - perpetuating)โดยที่มีเขตถิ่นฐานของตน มีสมาชิกประกอบด้วยทุกเพศ ทุกวัย และมีแบบแผนการดำรงชีวิตของตนเองไม่มากก็น้อย(Dictionary of Modem Society)
โครงสร้าง(Structure) 1. ประชากร(Population) คน และความหนาแน่น 2. ภาษา(Language) ระบบสัญลักษณ์ 3. เทคโนโลยี่ (Technology) ความรู้ วิธีการ เครื่องมือ 4. โครงสร้างสังคม(Social structure)รูปแบบหรือโครงข่ายพฤติกรรม 5. กลุ่ม(Group) ขนาดและความสัมพันธ์
หน้าที่ • ธำรงและพัฒนาลักษะชีวภาพของสังคมและปัจเจกบุคคลให้คงอยู่และเจริญรุ่งเรือง • จัดระเบียบและรักษาความเรียบร้อยในสังคม ตลอดจนบำรุงขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติภารกิจของสมาชิกในสังคม
ทฤษฎีสัญญาสังคม(Social Contract Theories of Society) นักคิด แนวคิดหลัก: เน้นสภาพธรรมชาติ(State of Nature) Thomas Hobbesโทมัส ฮอบส์ John Lock จอห์น ล้อค Jean Jaques Rousseau จัง,จาค รุสโซ
แนวคิดสำคัญของนักคิดต่าง ๆ Hobbes ความต้องการมากกว่าเหตุผล ธรรมชาติโหดร้าย / ไม่มีเหตุผล ใช้กำลังตัดสินปัญหา
Locke ธรรมชาติมีสันติภาพ Law of nature + Natural ใช้การทำสัญญาอยู่ร่วมกัน
Jean Jaques Rousseau ธรรมชาติมีความสุขสูงสุด ปัจจัย,จำนวนสมาชิกเพิ่มขึ้น,อารยธรรม ใช้การทำสัญญาเพื่อให้เกิดความยุติธรรม
ระบบสังคมวัฒนธรรม (Socio-Cultural System) • แนวคิดของ : Edward B.Tylor วัฒนธรรม คือ ผลรวมของระบบความรู้ ความเชื่อ ศิลปะ จริยธรรม กฎหมาย ประเพณี ตลอดจนความสามารถและอุปนิสัยต่าง ๆ ซึ่งเป็นผลมาจากการเป็นสมาชิกของสังคม
แนวคิดของ : Maslow-Maslow’s hierarchy • of Needs(ทฤษฎีลำดับความต้องการ5ขั้น) แนวคิดหลัก :ความต้องการส่วนใหญ่ในระดับที่ต่ำกว่าจะต้องได้รับการตอบสนองก่อนที่ความต้องการในระดับที่สูงขึ้นไปจะเกิดขึ้น
แนวคิดของ Maslow 1. ความต้องการทางสรีระ (Physiological Need) 2. ความต้องการความปลอดภัยและมั่นคง(Safety and Security Need) 3. ความต้องการทางสังคม (Belongingness or Social Need)
แนวคิดของ Maslow(ต่อ) 4. ความต้องการเกียรติยศ (Esteem Need) 5. ความต้องการเข้าถึงตนเองอย่างถ่องแท้ (Self Actualization Need)
เรื่องการเรียน 1.เด็กทุกคนอยากเข้าโรงเรียน เพื่อให้ได้ความรู้ 2.ต้องการความมั่นใจว่า จะได้เรียนจบครบหลักสูตร 3.ระหว่างเรียนเกิดสังคมการเรียนรู้ การแลกเปลี่ยนความรู้กับเพื่อน กับครู 4.เกิดการแข่งขัน และแย่งชิง กันทุกวิถีทางที่จะเข้าเรียนต่อในโรงเรียนดี ๆ 5.แต่พอจบออกมา ทุกคนก็ต้องยอมรับว่า เส้นสายไม่ดี ต่อให้เรียนดีแค่ไหน ก็เสมอกัน
อาจารย์เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ ศิลปินแห่งชาติ สาขา ทัศนศิลป์ (จิตรกรรม) ประจำปี 2554
3. วิวัฒนาการของสังคมมนุษย์Ferdinand Toenn ควาย หญ้า ธรรมชาติ • Gemeinschaft เป็นสังคมที่ สมาชิกมีความเป็นอยู่อย่างง่าย ๆทำการเกษตรล่าสัตว์ จับปลา มักอยู่รวมกันเป็นหมู่บ้านสมาชิกรู้จักกันอย่างทั่วถึงและมีความสัมพันธ์กันแบบพี่น้องสมาชิกในสังคมจะมีฐานะความเป็นอยู่ที่คล้ายคลึงกัน ยึดถือจารีตประเพณีเป็นแนวทางในการติดต่อสัมพันธ์ และประกอบกิจกรรมต่างๆ กล่าวได้ว่าเป็นลักษณะของสังคมชนบทหรือสังคมประเพณี
มุมหนึ่งในกรุงเทพฯ *Gesellschaftเป็นสังคมแบบชาวเมืองคือสมาชิกมีการประกอบอาชีพที่แตกต่างกันตามความสามารถหรือตามความถนัดของแต่ละคน มีการแบ่งงานกันทำสมาชิกในสังคมจะติดต่อสัมพันธ์กันแบบผิวเผินตามตำแหน่งหน้าที่การงาน โดยมีผลประโยชน์เป็นแรงจูงใจมีการสร้างกฎเกณฑ์ข้อบังคับข้อตกลงหรือกฎหมายขึ้นมาควบคุมพฤติกรรมของสมาชิก อย่างเป็นทางการ
Ian Roberton : ลักษณะการดำรงชีวิต 1. Hunting and gathering society 2. Pastoral society 3. Horticultural society 4. Agrarian society 5. Industrial society
ลักษณะการดำรงชีวิตของสังคมมนุษย์ลักษณะการดำรงชีวิตของสังคมมนุษย์ 1. สังคมล่าสัตว์และเก็บหาอาหาร ขนาดเล็ก มีความสัมพันธ์แบบปฐมภูมิ ชาย (ล่าสัตว์) หญิง (เลี้ยงดูเด็ก/ปรุงอาหาร)
2. สังคมเลี้ยงสัตว์เพื่อยังชีพ2. สังคมเลี้ยงสัตว์เพื่อยังชีพ ชำนาญการรบ , เร่ร่อน 3. สังคมพืชสวน การตัดแล้วเผา Slash and Burn เรียกว่า Shifting cultivation
4. สังคมกสิกรรม Intensive agriculture ไถ การใช้พลังงานจากสัตว์เลี้ยง
5. สังคมอุตสาหกรรม Industrial Revolution ใน C.18 เครื่องจักร การใช้พลังงานชนิดใหม่ (น้ำ,ลม)
วิวัฒนาการของสังคม 3 ระดับ • Primitive Society 2. Peasant Society 3. Modern Society
สังคมดั้งเดิม (Primitive Society) • Raw nature / Tribe of ethnic group • Hunting and gathering • Face to face relationship • Super natural power
สังคมไร่นา สังคมชาวนา • The First Agriculture Revolution สังคมสมัยใหม่ • Industrial Revolution • The second Agricultural Revolution
การปฏิวัติเกษตรกรรม ครั้งที่ 1: คนได้เริ่มเปลี่ยนวิธีทำมาหากินจากการล่าสัตว์และหาของป่ามาเป็นการเอาพืชมาปลูกและเอาสัตว์มาเลี้ยง ครั้งที่ 2: มีการนำความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้กับการเกษตรมากขึ้น จนทำให้ผลผลิตทางการเกษตรเพิ่มขึ้นอย่างมากมาย รวมทั้งคุณภาพก็ดีกว่าเดิมด้วย
การปฏิวัติอุตสาหกรรม แบ่งออกเป็น 3 ช่วง 1. เริ่มประมาณกลาง ค.ศ.ที่ 18 2. ปลายศตวรรษที่ 19 3. อยู่ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2
ลักษณะของสังคมอุตสาหกรรมลักษณะของสังคมอุตสาหกรรม 1. การวางมาตรฐาน (Standardization) 2. ความชำนาญเฉพาะด้าน (Specialization) 3. การสร้างความพร้อมเพรียง (Synchronization)
ลักษณะของสังคมอุตสาหกรรม (ต่อ) 4. การรวมหน่วย (Concentration) 5. การสร้างคุณค่าสูง (Maximization) 6. การรวมเข้าที่ศูนย์กลาง (Centralization)
6.สังคมหลังยุคอุตสาหกรรม(Postindustrial Society) • เริ่มต้นในการทศวรรษ 1970 • Bell (1973) Postindustrial Societies มีพื้นฐานมาจากการสร้างสรรค์ (creation) และการถ่ายทอด (transmittal) ทักษะ/ความรู้เฉพาะ • เป็นทั้งงานที่ใช้ทักษะและเป็นงานบริการในขณะเดียวกัน
7. สังคมการเปลี่ยนผ่าน(Transitional Society) • มีส่วนประกอบของสังคมทั้งสองแบบ เช่น อยู่ระหว่างสังคมกสิกรรมและสังคมอุตสาหกรรม • จีน ประเทศกสิกรรมขนาดใหญ่ และประเทศที่ผลิตชิ้นส่วนอุตสาหกรรม อินเดีย/อเมริกาใต้-อัฟริกา และเอเซีย
คำถาม:1.จงอธิบายถึงสาเหตุที่ทำให้มนุษย์ต้องอยู่รวมกันเป็น สังคม 2.เราจะเรียกสังคมปัจจุบันว่าอย่างไร เพราะเหตุผลใด จบบทที่ 1