1 / 32

ภาษีที่เกี่ยวข้องกับกองทุนพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า

ภาษีที่เกี่ยวข้องกับกองทุนพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า. โดย นายอัควิทย์ เจริญพานิช นิติกร 7 ว สำนักกฎหมาย. ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา. 1. ผู้มีหน้าที่เสียภาษี ( ม .56,57) 2. เงินได้พึงประเมินคืออะไร ( ม .39) 3. ประเภทเงินได้พึงประเมิน 40(1) – 40(8) 4. ค่าใช้จ่าย (ม .42- 46 ทวิ )

Download Presentation

ภาษีที่เกี่ยวข้องกับกองทุนพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ภาษีที่เกี่ยวข้องกับกองทุนพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้าภาษีที่เกี่ยวข้องกับกองทุนพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า โดย นายอัควิทย์ เจริญพานิช นิติกร 7 ว สำนักกฎหมาย

  2. ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 1.ผู้มีหน้าที่เสียภาษี (ม.56,57) 2.เงินได้พึงประเมินคืออะไร (ม.39) 3.ประเภทเงินได้พึงประเมิน 40(1) – 40(8) 4.ค่าใช้จ่าย (ม.42- 46ทวิ) 5.ค่าลดหย่อนและบริจาค (ม.47) 6.อัตราภาษีและการคำนวณภาษี (ม.48) 8.1คำนวณภาษีสิ้นปี 8.2 คำนวณภาษีครึ่งปี 8.3 คำนวณภาษีหัก ณ ที่จ่าย

  3. 1. ส่วนที่ว่าด้วยผู้เสียภาษี (Tax payer) กองทุนพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้ามีฐานะเป็นคณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล • มีฐานะเป็นคณะบุคคลตั้งแต่วันที่จัดตั้งกองทุนฯ • ต้องมีเงินได้ถึงเกณฑ์ขั้นต่ำที่กฎหมายกำหนด • ผู้อำนวยการ/ผู้จัดการเป็นผู้ยื่นแบบฯ แทน

  4. 2. ส่วนที่ว่าด้วยฐานภาษี (Tax Base) ฐานภาษีของกองทุนพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า ที่เป็นมูลเหตุให้กองทุนฯ เสียภาษี ได้แก่ รายได้จากการเรียกเก็บเงินจากผู้ผลิตไฟฟ้า

  5. 3. ส่วนที่ว่าด้วยอัตราภาษี(Tax Rate) อัตราภาษีของกองทุนฯ แบ่งออกเป็น 2 อัตรา 1. อัตราก้าวหน้า ตามบัญชีอัตราภาษีเงินได้ 2. อัตราคงที่ ตามการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาด้วยวิธีที่ 2 ในอัตราร้อยละ 0.5

  6. อัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาอัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

  7. 4. ส่วนที่ว่าด้วยวิธีการเสียภาษี(Tax Payment) วิธีการเสียภาษีของกองทุนฯ ได้แก่ 1. วิธีประเมินตนเอง 2. วิธีการหักภาษี ณ ที่จ่าย 3. วิธีประเมินโดยเจ้าพนักงานประเมิน

  8. 5. ส่วนที่ว่าด้วยวิธีหาข้อยุติในปัญหาภาษี(Tax Settlement) เมื่อกองทุนฯ ไม่ยื่นแบบ ภ.ง.ด.90,94 หรือยื่นแบบ ภ.ง.ด.90,94 แล้ว แต่ไม่ถูกต้องครบถ้วน และเจ้าพนักงานได้ประเมินภาษีแล้ว กองทุนฯ มีสิทธิดังนี้ 1. อุทธรณ์ต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ 2. หากไม่เห็นด้วย กองทุนฯ มีสิทธิอุทธรณ์ต่อศาลภาษีอากรกลาง

  9. 6. ส่วนที่ว่าด้วยการบังคับตามบทบัญญัติ(Tax Sanction) กำหนดให้ทราบถึงสภาพบังคับหรือโทษของการฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามบทบัญญัติของกองทุนฯ 1. โทษทางแพ่ง(เบี้ยปรับ,เงินเพิ่ม) 2. โทษทางอาญา(ปรับ,จำคุก)

  10. 1. กองทุนกับภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา “เงินได้พึงประเมิน” หมายความว่า เงินได้อันเข้าลักษณะพึงเสียภาษีในหมวดนี้ เงินได้ที่กล่าวให้หมายความรวมตลอดถึงทรัพย์สิน หรือประโยชน์อย่างอื่นที่ได้รับซึ่งอาจคิดคำนวณได้เป็นเงิน เงินค่าภาษีที่ ผู้จ่ายเงินหรือผู้อื่นออกแทนให้สำหรับเงินได้ประเภทต่างๆ ตามมาตรา 40 และเครดิตภาษีตามมาตรา 47 ด้วย (มาตรา 39 แห่งประมวลรัษฎากร)

  11. ประเภทของเงินได้ ประเภทที่ 1 กุล่มสัญญาจ้างแรงงาน เช่น เงินเดือน ค่าจ้าง ฯลฯ ประเภทที่ 2 กลุ่มสัญญาการรับทำงานให้ เช่นค่านายหน้าค่าส่วนลด ค่าคอมมิชชั่น ฯลฯ ประเภทที่ 3 กลุ่มทรัพย์สินทางปัญญา เช่นค่าแห่งกู๊ดวิลล์ค่าลิขสิทธิ์ ฯลฯ ประเภทที่ 4 กลุ่มผลตอบแทนการลงทุน เช่น ดอกเบี้ย เงินปันผล เงินส่วนแบ่งกำไร ฯลฯ

  12. ประเภทของเงินได้ (ต่อ) ประเภทที่ 5 กลุ่มค่าเช่าทรัพย์สิน เช่นค่าเช่าบ้านฯลฯ ประเภทที่ 6 กลุ่มวิชาชีพอิสระ เช่นค่าว่าความ ฯลฯ ประเภทที่ 7 กลุ่มงานรับเหมา เช่นค่ารับเหมาก่อสร้าง ฯลฯ ประเภทที่ 8 กลุ่มธุรกิจ การพาณิชย์ การเกษตร การอุตสาหกรรม การขนส่ง การขายอสังหาริมทรัพย์และอื่น ๆ เช่น กิจการภัตตาคาร กิจการโรงแรม กิจการร้านค้าทอง กิจการเสริมสวยและสปา กิจการซื้อมาขายไป กิจการรับจ้างทำของ ฯลฯ

  13. ประเภทของเงินได้ของกองทุนฯประเภทของเงินได้ของกองทุนฯ กองทุนฯ มีเงินได้จากการเรียกเก็บเงินจากผู้ผลิตไฟฟ้า เข้าลักษณะนิยามคำว่า เงินได้พึงประเมิน และถือเป็นเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(8) แห่งประมวลรัษฎากร หากต่อมากองทุนฯ นำเงินรายได้ไปฝากธนาคาร ดอกเบี้ยที่ได้รับ ถือเป็นเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(4)(ก) แห่งประมวลรัษฎากร

  14. การหักค่าใช้จ่ายของกองทุนการหักค่าใช้จ่ายของกองทุน 1. เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 8 ของกองทุนฯ มิได้ระบุรายการตามมาตรา 8 แห่งพระราชกฤษฎีกา ว่าด้วยการกำหนดค่าใช้จ่ายที่ยอมให้หักจากเงินได้พึงประเมิน (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2511 กองทุนฯ จึงมีสิทธิหักค่าใช้จ่ายตามความจริงหรือค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจริงของแต่ละกิจการและเป็นค่าใช้จ่ายที่ชอบด้วยกฎหมายโดยต้องแสดงหลักฐานค่าใช้จ่าย

  15. การหักค่าใช้จ่ายของกองทุน(ต่อ)การหักค่าใช้จ่ายของกองทุน(ต่อ) 2. เงินได้พึงประเมินประเภทที่ 4 ของกองทุนฯ กฎหมายไม่ยอมให้หักค่าใช้จ่าย

  16. ค่าลดหย่อน (ALLOWANCES) กองทุนฯ มีสิทธิหักค่าลดหย่อน ได้ดังนี้ 1. บุคคลในคณะบุคคลแต่ละคนซึ่งเป็นผู้อยู่ในประเทศไทย คนละ 30,000 บาท แต่รวมกันต้องไม่เกิน 60,000 บาท (มาตรา 47(6) แห่งประมวลรัษฎากร)

  17. ค่าลดหย่อน (ต่อ) 2. เงินบริจาคสาธารณกุศล ลดหย่อนได้ตามจำนวนที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 10% ของยอดเงินได้หลังจากหักค่าใช้จ่ายและค่าลดหย่อนรายการที่ 1 - 11 แล้ว (ยอดสุทธิก่อนหักเงินบริจาค)

  18. การคำนวณภาษีครึ่งปี (ภ.ง.ด. 94)ของกองทุนฯ วิธีการที่ 1 1. เงินได้ประเภทที่ 8 (ม.ค. - มิ.ย.) 2. แต่ละประเภท หักค่าใช้จ่ายได้ตามจริง 3. หักลดหย่อนได้กึ่งหนึ่งตามที่กฎหมายกำหนด * 4. ผลลัพย์เป็นเงินได้สุทธิ 5. คูณด้วยอัตราภาษี

  19. การคำนวณภาษีครึ่งปี (ภ.ง.ด. 94) (ต่อ) วิธีการที่ 2 6. เงินได้ประเภทที่ 8 จากยอดก่อนหักค่าใช้จ่ายใดๆ จำนวนตั้งแต่ 60,000 บาท ขึ้นไป 7. คูณด้วยอัตราภาษี 0.5% หรือ 5 / 1000 หมายเหตุ เปรียบเทียบจำนวนภาษีที่มากกว่า ระหว่างผลของข้อ 5 หรือ ข้อ 7 และให้เสียภาษีจากจำนวนที่มาก

  20. การคำนวณภาษีสิ้นปี (ภ.ง.ด. 90)ของกองทุนฯ วิธีการที่ 1 1. เงินได้ตั้งแต่ประเภทที่ 4,8 (ม.ค. - ธ.ค.) 2. รายได้ประเภทที่ 8 หักค่าใช้จ่ายได้ตามจริง รายได้ประเภทที่ 4 หักค่าใช้จ่ายไม่ได้ 3. หักค่าลดหย่อนได้ เต็มตามอัตราที่กฎหมายกำหนด *

  21. ภาษีสิ้นปี (ภ.ง.ด. 90, 91) 4. หักเงินบริจาคได้ตามจำนวนที่จ่ายจริงแต่ไม่ เกิน 10% ของยอดสุทธิก่อนหักเงินบริจาค 5. ผลลัพย์เป็นเงินได้สุทธิ 6. คูณด้วยอัตราภาษี

  22. ภาษีสิ้นปี (ภ.ง.ด. 90, 91) วิธีการที่ 2 7. เงินได้ประเภทที่ 4 รวมกับประเภทที่ 8 จากยอดก่อนหัก ค่าใช้จ่ายใด ๆ จำนวนตั้งแต่ 60,000 บาท ขึ้นไป 8. คูณด้วยอัตราภาษี 0.5% หรือ 5/1000 หมายเหตุ เปรียบเทียบจำนวนที่มากกว่า ระหว่างผลของข้อ 6 หรือข้อ 8 และให้เสียภาษีจากจำนวนที่มาก

  23. เกณฑ์ขั้นต่ำของเงินได้ที่ต้องยื่นเสียภาษี เกณฑ์ขั้นต่ำของการยื่นแบบ ภ.ง.ด. 94,90 กองทุนฯ ต้องมีเงินได้พึงประเมินทุกประเภทรวมกันเกิน 30,000 บาท ต่อปี (มาตรา 56 วรรคสอง แห่งประมวลรัษฎากร)

  24. 2. กองทุนฯ กับภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย วัตถุประสงค์ของการหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย เพื่อ - ให้เสียภาษีถูกต้องขณะที่มีความพร้อม - บรรเทาภาระภาษีในการยื่นเสียภาษีสิ้นปี - ลดภาระค่าใช้จ่าย - ป้องกันการหลีกเลี่ยงภาษีอากร - ให้การบริหารการจัดเก็บภาษีมีประสิทธิภาพ ทำให้รัฐมีรายรับอยู่ตลอดเวลา

  25. กฎหมายที่ใช้บังคับในการหัก ณ ที่จ่าย 1. ม.50 แยกตามประเภทเงินได้ 2. ม.3 เตรส ให้อำนาจกรมสรรพากรออก ท.ป.4/2528 ให้บางรายมีสิทธิหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย บางรายการได้

  26. หน้าที่ของกองทุนในฐานะผู้จ่ายเงินได้หน้าที่ของกองทุนในฐานะผู้จ่ายเงินได้ 1. คำนวณหักภาษีไว้ทุกครั้งที่จ่ายเงินได้ 2. ยื่นแบบและนำส่งภาษีภายในเวลาที่กำหนด 3. ยื่นแบบสรุปยอดการจ่ายทั้งปีที่ถูกหักและไม่ถูกหัก 4. ถ้าจ่ายให้คนต่างประเทศต้องแนบแบบแจ้งข้อความ 5. จัดทำหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่ายและส่งมอบแก่ผู้มีเงินได้ 6. จัดทำบัญชีพิเศษและรายการหักภาษีที่นำส่ง

  27. ความรับผิดของกองทุนในฐานะผู้จ่ายเงินได้ความรับผิดของกองทุนในฐานะผู้จ่ายเงินได้ ความรับผิดทางแพ่ง 1. ไม่ได้หักและไม่ได้นำส่ง - ภาษีร่วมกับผู้มีเงินได้ - เงินเพิ่ม 1.5% ต่อเดือนของภาษี 2. ไม่ได้หักแต่ได้ออกภาษีแทนไปบางส่วน - ภาษีร่วมกับผู้มีเงินได้ - เงินเพิ่ม 1.5% ต่อเดือนของภาษี

  28. ความรับผิดของกองทุนในฐานะผู้จ่ายเงินได้ความรับผิดของกองทุนในฐานะผู้จ่ายเงินได้ 3. ได้หักและนำส่งภายในกำหนดเวลาแต่นำส่งไม่ครบ - ภาษีส่วนที่ขาดร่วมกับผู้มีเงินได้ - เงินเพิ่ม 1.5% ต่อเดือนของส่วนที่ขาด 4. ได้หักไว้ครบแต่นำส่งไม่ครบ / ไม่นำส่งภายใน กำหนดเวลา - ภาษีที่นำส่งไม่ครบ / ไม่นำส่ง แต่เพียงผู้เดียว - เงินเพิ่ม 1.5% ต่อเดือน ของภาษีที่ขาด /ไม่นำส่ง

  29. ความรับผิดของกองทุนในฐานะผู้จ่ายเงินได้ความรับผิดของกองทุนในฐานะผู้จ่ายเงินได้ ความรับผิดทางอาญา 1. ไม่ได้ยื่นแบบฯ และนำส่งภายในกำหนดเวลา ต้อง ระวางโทษไม่เกิน 2,000 บาท 2. ไม่ได้ทำบัญชีพิเศษ ต้องระวางโทษปรับกระทงละ 1,000 บาท 3. ไม่ได้จัดทำหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่ายและส่งมอบภายในกำหนดเวลา ต้องระวางโทษปรับกระทงละ 500 บาท

  30. ความรับผิดของผู้จ่ายเงินได้ (ต่อ) 4. ไม่ได้ยื่นบัญชีการจ่ายเงิน / หลักฐาน ภายใน 15 วันนับแต่วันออกจากงาน ต้องระวางโทษปรับกระทงละ1,000 บาท 5. ไม่ได้ยื่นขอมีเลขบัตรประจำตัวผู้เสียภาษี ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 2,000 บาท

  31. วิธีการหักภาษี ณ ที่จ่าย 1. ตามมาตรา 50 แห่งประมวลรัษฎากร • กรณีเงินได้ประเภทที่ 1 และ 2 ( ม. 50 (1) ) • กรณีเงินได้ประเภทที่ 3 และ 4 ( ม. 50 (2) ) • กรณีเงินได้ประเภทที่ 5 และ 6 ( ม. 50 (3) ) • กรณีเงินได้ประเภทที่ 8 (ม.50 (5)) 2. ตามมาตรา 3 เตรส (ท.ป.4/2528)ฯ

  32. จบคำบรรยาย ขอขอบคุณ

More Related