750 likes | 932 Views
“ แนวทางการประเมินมูลค่าที่ดิน เพื่อเกษตรกรรมในเขตปฏิรูปที่ดิน ”. การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร. 10-13 มิถุนายน 2557. 1. การสุ่มตัวอย่าง และวิธีการเก็บข้อมูล. โดย นางดารณี ชนะชนม์ ผู้อำนวยการกลุ่มติดตามและประเมินผล. 2. วัตถุประสงค์. เพื่อศึกษารายได้ผลตอบแทนจากการปลูกพืชเศรษฐกิจ
E N D
“แนวทางการประเมินมูลค่าที่ดินเพื่อเกษตรกรรมในเขตปฏิรูปที่ดิน”“แนวทางการประเมินมูลค่าที่ดินเพื่อเกษตรกรรมในเขตปฏิรูปที่ดิน” การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร 10-13 มิถุนายน 2557 1
การสุ่มตัวอย่างและวิธีการเก็บข้อมูล โดย นางดารณี ชนะชนม์ ผู้อำนวยการกลุ่มติดตามและประเมินผล 2
วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษารายได้ผลตอบแทนจากการปลูกพืชเศรษฐกิจ ตามกรอบการใช้ที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดิน ปี 2552-2555 ได้รับการอนุเคราะห์กรอบการใช้ที่ดินฯ โดยกลุ่มสารสนเทศภูมิศาสตร์ ศูนย์สารสนเทศ 3
ประชากร Population หมายถึง ทุกหน่วยที่สนใจศึกษา ตัวอย่าง Sample หมายถึง บางส่วนของประชากร การสุ่มตัวอย่าง ไม่ต้องเก็บทุกหน่วย ประหยัดเวลาค่าใช้จ่าย เก็บข้อมูลจากตัวอย่างแล้วใช้ความรู้ทางสถิติเพื่ออ้างอิงถึงประชากร การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสำรวจ ต้องมีกรอบตัวอย่าง (Sampling Frame) คือ รายชื่อของทุกๆ หน่วยในประชากรที่สนใจศึกษา 4
การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสำรวจการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสำรวจ การสำรวจด้วยตัวอย่าง (Sample Survey) การสุ่มตัวอย่าง ตัวแทนที่ดี หมายถึงตัวอย่างที่ถูกเลือกมาควรประกอบไปด้วยลักษณะต่างๆของประชากรครบถ้วน การเก็บข้อมูลด้วยตัวอย่าง ผู้เก็บข้อมูลต้องเลือกวิธีการเลือกตัวอย่างให้เหมาะสมเพื่อให้ได้ข้อมูลที่มีคุณภาพเนื่องจากต้องทำการวิเคราะห์ข้อมูลตัวอย่างเพื่ออ้างอิงถึงลักษณะของประชากร 5
การเลือกตัวอย่างตามความน่าจะเป็น (Probability Sampling) การสุ่มตัวอย่าง - การเลือกตัวอย่างสุ่มแบบง่าย (Simple RandomSampling) โดยใช้การจับฉลาก ตารางเลขสุ่ม - การเลือกตัวอย่างแบบมีระบบ (SystematicSampling) โดยให้หมายเลขประชากร/เลือกหน่วยแรก/เลือกหน่วยถัดไปห่างจากหน่วยที่เพิ่งถูกเลือกเป็นช่วงเท่ากัน(k=N/n) จนครบขนาดตัวอย่างที่กำหนด 6
- การเลือกตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ (Stratified Sampling) ประชากรที่สนใจศึกษาแตกต่างกันมาก ต้องแบ่งประชากรเป็นกลุ่ม เรียกว่า ชั้นภูมิ (stratum) ภายในชั้นภูมิเดียวกันมีลักษณะที่สนใจใกล้เคียงกัน ต่างชั้นภูมิมีความแตกต่างกัน ขนาดตัวอย่างแต่ละชั้นภูมิอาจกำหนดทุกชั้นภูมิเท่ากัน หรือ เป็นสัดส่วนกับจำนวนหน่วยทั้งหมด การสุ่มตัวอย่าง 7
วิธีการศึกษา ประชากรกลุ่มเป้าหมาย เกษตรกรผู้ได้รับหนังสืออนุญาตให้เข้าทำประโยชน์ในเขตปฏิรูปที่ดิน (ส.ป.ก. 4-01) ตั้งแต่ ปี 2518-2556 จำนวน 2.8 ล้านแปลง กรอบการใช้ที่ดิน ปี 2552-2555 ในพื้นที่เป็นรายพืชตามพืชเศรษฐกิจหลักสูงสุด 3 ลำดับ ของจังหวัด รวม 67 จังหวัด กำหนดจำนวนแปลงตัวอย่างเป็นตัวแทนจังหวัดด้วยวิธีของ ทาโรยามาเน่ ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 85 ได้จำนวนตัวอย่าง จังหวัดละ 44 แปลง ใช้วิธีการเลือกตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Random Sampling) ได้แก่ สุ่มจังหวัด สุ่มอำเภอ สุ่มตำบล และสุ่มแปลงเกษตรกรที่มีคุณสมบัติไม่ติดถนนใหญ่ และไม่เป็นที่ตาบอด 8
วิธีการศึกษา สูตรของทาโร ยามาเน่ (Yamane) กรณีทราบขนาดของประชากร e คือ ความคลาดเคลื่อนของการสุ่มตัวอย่างที่ยอมรับได้ 9
วิธีการศึกษา ตัวอย่างคำนวณจำนวนแปลงตัวอย่างจังหวัดสระแก้ว จากสูตร จำนวนแปลงจังหวัดสระแก้ว (N) = 71,131 ความคลาดเคลื่อน (e) = .15 แทนค่า (เท่ากับ 44 แปลงทุกจังหวัด) สรุปให้จำนวนแปลงตัวอย่างเท่ากันทุกจังหวัด คือ 60+10 แปลง 10
การสุ่มตัวอย่าง เขตปฏิรูปที่ดิน 70 70 จังหวัด 1 จังหวัด 59 1 59 จังหวัด 35 35 35 35 อำเภอ 11 อำเภอ 12 118 อำเภอ อำเภอ 591 อำเภอ 592 2 17 18 17 ตำบล 121 ตำบล 122 18 ตำบล 5921 ตำบล 5922 3 161 ตำบล 18 17 ตำบล 111 17 ตำบล 112 18 ตำบล 5911 ตำบล 5912 9 8 9 9 9 9 9 8 4,130 แปลง 4 8 9 9 9 8 9 9 9 11
วิธีการศึกษา probability proportional to size ( PPS ) เป็นวิธีการเลือกหน่วยตัวอย่าง ตามขนาด (measure of size) โดยใช้ความน่าจะเป็นไม่เท่ากัน หมายถึง การเลือกหน่วยตัวอย่างจํานวนn หน่วยจาก N หน่วยในประชากร โดยโอกาสหรือความน่าจะเป็นของ แต่ละหน่วยที่ถูกเลือกขึ้นมาเป็นตัวแทนในตัวอย่างสามารถคํานวณ ค่าได้ และมีค่าไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับหน่วยวัดขนาด 12
วิธีการศึกษา • ตัวอย่างการสุ่มอำเภอในจังหวัดสระแก้ว กำหนด 2 อำเภอ • โดยวิธี probability proportional to size ( PPS ) มีพื้นที่ปลูกข้าวสูงสุด รองลงมาเป็น มันสำปะหลังและอ้อย • เรียงลำดับพื้นที่ปลูกข้าวของแต่ละอำเภอในจังหวัดสระแก้วตามขนาดจากน้อยไปมาก • คำนวณพื้นที่สะสมปลูกข้าวจากน้อยไปมาก • หาช่วงสุ่มตัวอย่างเท่ากับยอดรวมหาร 2 (n=2) • ช่วงสุ่มตัวอย่าง = 613,641/2 = 306,821 • 4. สุ่มตัวอย่างแรกระหว่างค่าน้อยสุด ถึง ค่า 306,821 • ในที่นี้ สุ่มได้อำเภอเขาฉกรรจ์ ค่าพื้นที่สะสม 180,254 • 5. ตัวอย่างที่สองเป็นค่า = 306,821+180,254=487,075 ได้อำเภอตาพระยา 13
กรอบการใช้ที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดิน ปี 2552-2555 จำแนกตามพืชหลัก แสดงตัวอย่างกรอบการใช้ที่ดินจำแนกตามพืชหลัก ของจังหวัดสระแก้ว 14
ขั้นตอนที่ 1 สุ่มอำเภอ กำหนดจำนวนอำเภอตัวอย่างจังหวัดละ 2 อำเภอ สุ่มอำเภอตัวอย่างของจังหวัดเป้าหมายทุกจังหวัด รวม 59 จังหวัด โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบ probability proportional to size(PPS)ตามขนาด (measure of size:MOS) โดยเรียงลำดับพื้นที่ปลูกทุกอำเภอตามพืชเศรษฐกิจหลักสูงเป็นลำดับ 1 ของจังหวัด ได้จำนวนตัวอย่าง 118 อำเภอ แสดงตัวอย่างการสุ่มอำเภอที่ตกเป็นตัวอย่าง ของจังหวัดสระแก้ว 21
การสุ่มอำเภอ 22
การสุ่มอำเภอ 23
การสุ่มอำเภอ 24
การสุ่มอำเภอ 25
ขั้นตอนที่ 2 สุ่มตำบล กำหนดจำนวนตำบลตัวอย่างเป็นร้อยละ 5 ของจำนวนตำบลทั้งหมดในจังหวัด ไม่ต่ำกว่า 2 ตำบลไม่เกิน 5 ตำบล ให้จำนวนตำบลตัวอย่างในอำเภอที่ตกเป็นตัวอย่างเป็นตามสัดส่วนของจำนวนตำบลในอำเภอที่ตกเป็นตัวอย่างกับตำบลทั้งหมดของอำเภอที่ตกเป็นตัวอย่าง สุ่มตำบลตัวอย่างในอำเภอที่ตกเป็นตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบ probability proportional to size ( PPS )ตามขนาด (measure of size : MOS) โดยเรียงลำดับพื้นที่ปลูกทุกตำบลตามพืชเศรษฐกิจหลักสูงเป็นลำดับ 1 ของจังหวัด ได้จำนวนตัวอย่าง 161 ตำบล 26
กำหนดจำนวนตำบลตัวอย่างเป็นร้อยละ 5 ของจำนวนตำบลทั้งหมดในจังหวัด ไม่ต่ำกว่า 2 ตำบลไม่เกิน 5 ตำบล แสดงวิธีการคำนวณหาจำนวนตำบลที่ตกเป็นตัวอย่าง ของจังหวัดสระแก้ว จำนวนตำบลในจังหวัดสระแก้ว = 53ตำบล จำนวนตำบลตัวอย่าง =53 5% = 2.6 ~ 3 27
แสดงจำนวนตำบลที่ตกเป็นตัวอย่างแสดงจำนวนตำบลที่ตกเป็นตัวอย่าง ของทุกจังหวัดเป้าหมาย 59 จังหวัด 28
ให้จำนวนตำบลตัวอย่างในอำเภอที่ตกเป็นตัวอย่างเป็นตามสัดส่วนของจำนวนตำบลในอำเภอที่ตกเป็นตัวอย่างกับตำบลทั้งหมดของอำเภอที่ตกเป็นตัวอย่าง จำนวนตำบลตัวอย่างในจังหวัดสระแก้ว = 3 ตำบล จำนวนตำบลใน อ.เขาฉกรรจ์ =4 จำนวนตำบลใน อ.ตาพระยา =5 จำนวนตำบลตัวอย่างใน อ.พรานกระต่าย =34 /9 = 1.3 ~ 1 จำนวนตำบลตัวอย่างใน อ.เมือง =35 /9 = 1.7 ~ 2 37
สุ่มตำบลตัวอย่างในอำเภอที่ตกเป็นตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบ probability proportional to size ( PPS )ตามขนาด (measure of size : MOS) โดยเรียงลำดับพื้นที่ปลูกทุกตำบลตามพืชเศรษฐกิจหลักสูงเป็นลำดับ 1 ของจังหวัด ได้จำนวนตัวอย่าง 161 ตำบล 38
การสุ่มตำบล 39
การสุ่มตำบล 40
สรุปจำนวนราย/แปลง ที่ตกเป็นตัวอย่าง การเก็บข้อมูลพืชหลักทุกจังหวัดเป้าหมาย 59 จังหวัด 1. หากเนื้อที่ปลูกพืชหลักลำดับที่ 1 เกินครึ่งหนึ่งของ 3 พืช เก็บข้อมูลเฉพาะพืชลำดับที่ 1 2. แต่หากเนื้อที่ปลูกพืชหลักลำดับที่ 1 เกินครึ่งหนึ่งของ 3 พืช และพืชลำดับ 2 เนื้อที่ปลูกใกล้เคียง ลำดับ 1 เก็บข้อมูลพืชเนื้อที่สูงสุด 2 พืช 3. หากเนื้อที่ปลูกพืชหลักลำดับที่ 1 ไม่ถึงครึ่งหนึ่งของ 3 พืช เก็บข้อมูลพืชเนื้อที่สูงสุด 2 พืช โดยกำหนด 41
สรุปจำนวนราย/แปลง ที่ตกเป็นตัวอย่าง จำแนกตามการเก็บข้อมูลเป็นรายพืช ทุกจังหวัดเป้าหมาย 59 จังหวัด รายตำบลที่ตกเป็นตัวอย่าง ได้จำนวนตัวอย่าง 4,130 แปลง 50