70 likes | 282 Views
นโยบาย Harm Reduction. ลาวัลย์ สาโรวาท มูลนิธิพีเอสไอ สมัชชากพอ.ชาติ ประจำปี 2554 25 -27 มกราคม 2555. การลดอันตรายจากการใช้ยา Harm Reduction.
E N D
นโยบาย Harm Reduction ลาวัลย์ สาโรวาท มูลนิธิพีเอสไอ สมัชชากพอ.ชาติ ประจำปี 2554 25 -27 มกราคม 2555
การลดอันตรายจากการใช้ยา Harm Reduction การลดอันตรายจากการใช้ยาเสพติด คือ การลดความเสี่ยงและอันตรายต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นจากการ ใช้ยาเสพติดโดยการใช้เข็มและกระบอกฉีดร่วมกัน ผู้ที่ใช้ยาเสพติดอาจยังเลิกใช้ยาไม่ได้ทันที ฉะนั้นระหว่าง ที่กำลังพยายามจะเลิก จึงควรมีวิธีการลดอันตราย จากการติดและถ่ายทอดเชื้อเอชไอวี รวมทั้งเชื้อไวรัสตับอักเสบชนิดซี และชนิดบี อีกทั้งช่วยให้ผู้ที่ใช้ยาเสพติดสามารถปรับตัวเองให้ลดการใช้ยาลง และดำรงสถานภาพการไม่กลับไปเสพซ้ำให้นานขึ้น
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้ใช้ยาเสพติดด้วยวิธีฉีดเข้าถึงบริการแบบรอบด้านของการลดอันตรายจากการใช้ยาเสพติด เพื่อลดการแพร่กระจายของเชื้อเอชไอวีในกลุ่มผู้ใช้ยาเสพติดด้วยวิธีฉีดและผู้ที่มีเพศสัมพันธ์ด้วย เพื่อลดจำนวนผู้ใช้ยาเสพติดด้วยวิธีฉีด เพื่อลดอัตราการเกิดอาชญากรรมจากผู้ใช้ยาเสพติดด้วยวิธีฉีด
นโยบายลดอันตรายจากการใช้ยาเสพติด (๑ พ.ย. ๕๓) มี ๓ ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การบริการแบบบูรณาการและครบวงจร • ความเข้าใจเชิงบวกของชุมชน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เรื่องการลดอันตราย • พัฒนาและให้บริการชุดบริการการลดอันตรายแบบครบวงจร ก. บริการลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวี (ให้ความรู้ MMTNSP ถุงยาง) ข. บริการตรวจรักษา (VCCT STI TB) ค. บริการด้านจิตใจและการบำบัด (เพื่อนช่วยเพื่อน จิตเวช บำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพ)
มาตรการการลดอันตรายจากการใช้ยาเสพติดในผู้ใช้ยาเสพติดที่ยังเลิกไม่ได้ (Harm Reduction) การให้ความรู้ ทัศนคติและทักษะในการป้องกันการติดเชื้อและยาเสพติด การให้คำปรึกษา และการตรวจเชื้อ เอชไอวี พร้อมการส่งต่อเพื่อการดูแลรักษา ให้บริการรักษาด้านจิตเวช การป้องกัน วินิจฉัย และรักษาวัณโรค การตรวจและรักษา โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การบำบัดรักษายาเสพติด โดยใช้สารเมทาโดนระยะยาว การสนับสนุน วิธีใช้เข็มและอุปกรณ์ฉีดยาที่สะอาด การแจกถุงยางอนามัย กิจกรรมกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อน การบำบัดรักษา ฟื้นฟูสมรรถภาพ การกลับสู่สังคม และการป้องกันการ เสพซ้ำ 6 1 2 7 8 3 9 4 10 5
นโยบายลดอันตรายจากการใช้ยาเสพติดนโยบายลดอันตรายจากการใช้ยาเสพติด ยุทธศาสตร์ที่ ๒ การบริการเชิงรุก • เพิ่มการเข้าถึงผู้ใช้ยาโดยเจ้าหน้าที่ และอาสาสมัครภาครัฐและประชาสังคม • เสริมสร้างความเข้มแข็งขององค์กรและเครือข่ายที่ทำงานการลดอันตราย ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การศึกษาวิจัย และประเมินผล • พัฒนาระบบข้อมูลข้อสนเทศ • ศึกษาวิจัยผลกระทบการดำเนินงาน เพื่อนำมาปรับปรุงนโยบาย และการดำเนินงาน • ติดตามและประเมินผลนโยบาย และการดำเนินงาน
ความท้าทาย • การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย • การให้บริการอย่างครอบคลุม • การบำบัดที่มีมาตรฐาน • นโยบาย • ความร่วมมือ • ความยั่งยืน