1 / 16

โครงการเร่งรัดติดตามลูกเกิด ธคก. ให้ได้ร้อยละ ๓๐ ในปี ๒๕๕๖

สำนักงานปศุสัตว์เขต ๓ นครราชสีมา. โครงการเร่งรัดติดตามลูกเกิด ธคก. ให้ได้ร้อยละ ๓๐ ในปี ๒๕๕๖. บทบาทหน้าที่ของ สำนักงานปศุสัตว์เขต เป็นหน่วยงานบริหารทางวิชาการ และบูรณาการเพื่อขับเคลื่อนนโยบายของกรม / กระทรวง ให้เกิดผลสัมฤทธิ์. โดยการบูรณาการ การทำงานใน 3 มิติ คือ. 1. Area Approach.

Download Presentation

โครงการเร่งรัดติดตามลูกเกิด ธคก. ให้ได้ร้อยละ ๓๐ ในปี ๒๕๕๖

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สำนักงานปศุสัตว์เขต ๓นครราชสีมา โครงการเร่งรัดติดตามลูกเกิด ธคก. ให้ได้ร้อยละ ๓๐ ในปี ๒๕๕๖

  2. บทบาทหน้าที่ของ สำนักงานปศุสัตว์เขตเป็นหน่วยงานบริหารทางวิชาการ และบูรณาการเพื่อขับเคลื่อนนโยบายของกรม / กระทรวง ให้เกิดผลสัมฤทธิ์ โดยการบูรณาการ การทำงานใน 3 มิติ คือ 1. Area Approach เพื่อเสริมศักยภาพการทำงานของจังหวัด และหน่วยงานส่วนกลาง 2. Functional Approach 3. R & D Approach เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปตามมาตรฐานวิชาชีพ และมาตรฐานระบบงาน เพื่อนำองค์ความรู้และงานวิจัยถ่ายทอดสู่เจ้าหน้าที่ระดับจังหวัดอำเภอ และเครือข่าย

  3. บทบาทอำนาจหน้าที่ของ สำนักงานปศุสัตว์เขต“เป็นหน่วยงานบูรณาการ เพื่อขับเคลื่อนนโยบายกระทรวง/กรม” เพิ่มศักยภาพของจังหวัดและหน่วยงาน ส่วนกลาง /เครือข่าย 1.1 Analysis / evaluation1.2Monitoring1.3Supporting1.4 Co-ordination1.5 Motivation 1.6 Inspecter กรม/ผช.ผต.กระทรวง เกษตรกรฯSmartFarmer อำเภอจังหวัด วิชาชีพ/มาตรฐานระบบงาน/งานนโยบาย2.1 งานสุขภาพสัตว์ 2.2 งานความปลอดภัยด้านอาหาร (food safety) 2.3 งานส่งเสริมและพัฒนา 2.4พระราชดำริ 2.5งานยุทธศาสตร์รายชนิดสัตว์ 2.6 อำนาจหน้าที่ที่กรม มอบหมาย 52 ภารกิจ ? องค์ความรู้ / งานวิจัย3.1 สำนักงานปศุสัตว์เขต 3.2 ศูนย์วิจัยและพัฒนาการสัตวแพทย์ 3.3 ศูนย์วิจัยและบำรุงพันธุ์สัตว์3.4 ศูนย์วิจัยและพัฒนาอาหารสัตว์3.5ศูนย์วิจัยและพัฒนาการปศุสัตว์ 3.7 ศูนย์วิจัยการผสมเทียมและ เทคโนโลยีชีวภาพ 3.8 ด่านกักกันสัตว์ 3.9 ข้อมูลและสารสนเทศ Integration เจ้าหน้าที่ของ เขต / จังหวัด / อำเภอ Smart Officer

  4. 1,369 ตัว 963 ตัว ชัยภูมิ (2,240 ตัว) 1,632 ตัว 1,057 ตัว ร้อยเอ็ด (13,289 ตัว) 2,026 ตัว ยโสธร (2,020 ตัว) อำนาจเจริญ (2,020 ตัว) 214 ตัว 8,175 ตัว 5,114 ตัว อุบลราชธานี (3,228 ตัว) สุรินทร์ (6,991 ตัว) ศรีสะเกษ (2,726 ตัว) นครราชสีมา (4,214 ตัว) บุรีรัมย์ (3,185 ตัว) 1,793 ตัว 3,145 ตัว 1,432 ตัว 1,435 ตัว 1,196 ตัว 2,969 ตัว 1,069 ตัว 1,294 ตัว 1,989 ตัว 4,022 ตัว 1.หลักการและความสำคัญ 1.1 เป็นเขตที่มีเกษตรกรร่วมโครงการจำนวนมากที่สุดเท่าๆกับเขต 4 โค 23,068 ตัว กระบือ 17,826 ตัว รวม 40,894 ตัว

  5. 1.2 มีปัญหาในการติดตามลูกเกิดได้น้อยมาก เฉลี่ย 9.77%

  6. 2. กรอบแนวคิด • การติดตามลูกเกิดให้ได้มากที่สุด เป็นตัวบ่งชี้ประสิทธิภาพและ ความสำเร็จของโครงการ KPI(Key Performance Indicator) 2.1ได้ลูกโค-กระบือตัวที่ 1 (อายุ 1 ปีครึ่ง) เร็วที่สุด หมายถึง - ลูกเพศผู้ จำหน่ายนำเงินเข้าธนาคารได้เร็วและมากที่สุด - ลูกเพศเมีย มอบให้เกษตรกรรายใหม่ได้เร็วที่สุด - ป้องกันการนำลูกตัวที่ 1 ไปขาย 2.2 สามารถมอบกรรมสิทธิ์แม่โค-กระบือให้แก่ผู้เลี้ยงได้เร็วขึ้น เกษตรกรจะ ได้มีโค-กระบือเป็นของตนเอง พร้อมลูกตัวที่ 2,3 สมตามเจตนารมณ์ ของโครงการ ธคก. 2.3 สามารถจำหน่ายบัญชี ทะเบียนแม่โค-กระบือได้เป็นปัจจุบัน ถูกต้องตามความเป็นจริง ป้องกันการแอบนำแม่โค-กระบือไปขาย

  7. 3. กำหนดกลยุทธ์ในการขับเคลื่อน 3.1กลยุทธ์เชิงการบริหาร 3.1.1 ตัวชี้วัดของปศุสัตว์จังหวัด(สมรรถนะหลัก)/ปศุสัตว์อำเภอ 3.1.2 ตัวชี้วัดของเจ้าหน้าที่ของสำนักงานปศุสัตว์เขต 3 3.1.3 จัดประกวด/มอบรางวัล จังหวัดดีเด่น

  8. 3. กำหนดกลยุทธ์ในการขับเคลื่อน 3.2กลยุทธ์เชิงเทคนิค 3.2.1 ตรวจสอบและติดตามลูกเกิดในรายที่ยังไม่มีลูกในทะเบียน/ กำหนดจุดและเส้นที่ตั้งและจัดทำแผนในการติดตาม/ กำหนดผู้รับผิดชอบพี้นที่/กลุ่ม ธคก.ให้ชัดเจน 3.2.2 มอบภารกิจให้เจ้าหน้าที่ผสมเทียม/อาสา/ปศุสัตว์ตำบล ช่วยติดตาม 3.2.3 จังหวัดกำหนดวาระการติดตามลูกเกิดในการประชุมประจำเดือน 3.2.4 ให้มีการรายงานผลความก้าวหน้าติดตามลูกเกิดทุกเดือน 3.2.5 เร่งจำหน่ายทะเบียนแม่สัตว์ที่ได้ดำเนินการถูกต้องตามเงื่อนไข (เพื่อลดจำนวนแม่ลง) 3.2.6 เร่งรัดจำหน่ายทะเบียนสัตว์ที่มีปัญหา(เพื่อลดจำนวนแม่ลง) 3.2.7 สำนักงานปศุสัตว์เขตกำหนดมาตรฐานให้บริการ ธคก. แก่ สำนักงานปศุสัตว์จังหวัด ไม่เกิน 10 วันทำการ

  9. % 3. กำหนดกลยุทธ์ในการขับเคลื่อน 3.3กำหนด Road Map ในการดำเนินการโครงการ 3.3.1 โครงการเร่งรัดติดตามลูกเกิด ธคก. ให้ได้ 20% ในปี 2554 3.3.2 โครงการเร่งรัดติดตามลูกเกิด ธคก. ให้ได้ 25% ในปี 2555 3.3.3 โครงการเร่งรัดติดตามลูกเกิด ธคก. ให้ได้ 30% ในปี 2556

  10. 4. ผลการดำเนินโครงการ 4.1 ผลการเร่งรัดติดตามลูกเกิด ปี 2554 - 2556 * ปี 2556 ถึงเดือนมิถุนายน ก.ย.56 30% (9,899 ตัว)

  11. 4.2 มูลค่าที่เพิ่มขึ้นจากการเร่งรัดติดตามลูกเกิด - ปี 2554 ลูกเกิดเพิ่มขึ้นประมาณ 3,500 ตัว มูลค่า 35 ล้านบาท - ปี 2555 ลูกเกิดเพิ่มขึ้นประมาณ 4,500 ตัว มูลค่า 45 ล้านบาท - ปี 2556 คาดว่าจะติดตามลูกเกิดเพิ่มขึ้นประมาณ 5,000 ตัว มูลค่า 50 ล้านบาท ตัว

  12. 5. ปัญหาและอุปสรรค 1. สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดขาดการวิเคราะห์และวางแผนงานในการเร่งรัด การติดตามและรายงานลูกเกิด 2. จังหวัดไม่ติดตามลูกเกิดเป็นเวลานาน ทำให้ข้อมูลการติดตามลูกเกิด ไม่เป็นปัจจุบัน ทำให้ไม่สามารถบริหารสัญญาให้มีประสิทธิภาพได้ 3. ข้อมูลทะเบียนสัตว์ระหว่างสำนักงานปศุสัตว์เขต และสำนักงานปศุสัตว์จังหวัดไม่ตรงกัน 4. ขาดงบประมาณในการติดตามลูกเกิด

  13. 6. ข้อเสนอแนะ 1. กรมปศุสัตว์ควรกำหนดให้ผลจากการติดตามลูกเกิด เป็นตัวชี้วัด ของปศุสัตว์จังหวัด 2. ควรมีการปรับปรุงแก้ไขสัญญาให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน 3. ควรสนับสนุนงบประมาณ ค่าติดตามลูกเกิดแก่อำเภอ ตัวละ 100 บาท 4. ควรสนับสนุนบุคลากรผู้รับผิดชอบโดยเฉพาะแก่สำนักงานปศุสัตว์เขต (5,000 ตัว สนับสนุน 1 คน) และสำนักงานปศุสัตว์จังหวัด(2,500 ตัว สนับสนุน 1 คน) และสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ ในการบันทึกจัดเก็บข้อมูล 5. ควรมีการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับรายได้และผลกระทบของเกษตรกร ก่อนและหลังการเข้าร่วมโครงการ ธคก. 6. ควรมีการเชื่อมระบบ IT ของ ธคก. ระหว่างส่วนกลาง / เขต / จังหวัด

More Related