900 likes | 1.42k Views
คาร์โบไฮเดรต. C n (H 2 O) n. Starch. Carbon hydrate or saccharides n=3-7 carbon atoms. C 6 H 12 O 6 (Glucose/Dextrose). Cellulose. รายวิชาเซลล์ชีววิทยา. ศาตราจารย์ ปิยะรัตน์ โตสุโขวงศ์. เนื้อหา ของคาร์โบไฮเดรต. 1 . บทนำและความสำคัญของคาร์โบไฮเดรต 2. โครงสร้างของโมโนแซคคาร์ไรด์
E N D
คาร์โบไฮเดรต Cn(H2O)n Starch Carbon hydrate or saccharides n=3-7 carbon atoms C6H12O6 (Glucose/Dextrose) Cellulose รายวิชาเซลล์ชีววิทยา ศาตราจารย์ ปิยะรัตน์ โตสุโขวงศ์
เนื้อหา ของคาร์โบไฮเดรต 1. บทนำและความสำคัญของคาร์โบไฮเดรต 2. โครงสร้างของโมโนแซคคาร์ไรด์ 3. อนุพันธ์ของน้ำตาล 4. ไดแซคคาร์ไรด์และโพลีแซคคาร์ไรด์ 5. ใยอาหารและคาร์โบไฮเดรตในอาหาร 6. ความสำคัญของ Glycoaminoglycans(GAG) 7. ความสำคัญ Complex carbohydrate, Proteoglycans, Glycoprotein,PeptidoglycanและGlycolipid
คาร์โบไฮเดรต บทนำ • โดยทั่วไปจะประกอบด้วยธาตุหลักคือ C,H และ O โดยอะตอม ของ H : O = 2 :1คาร์โบไฮเดรต บางชนิดอาจจะมีไนโตรเจน หรือกำมะถันอยู่ด้วย • ประเภทคาร์โบไฮเดรต- น้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว โมเลกุลคู่และน้ำตาลโมเลกุลใหญ่ หรือเรียกว่า โพลี่แซคคาไรด์ เป็นแหล่งพลังงานที่สำคัญ และเก็บเป็นพลังงานสำรองไว้ส่วนหนึ่งในรูปไกลโคเจนที่ตับและกล้ามเนื้อ โดยเฉลี่ยแล้วคาร์โบไฮเดรต 1 กรัมจะให้พลังงานประมาณ 4 กิโลแคลอรี่ โดยปกติคนเราจะบริโภคคาร์โบไฮเดรตประมาณ 250-500 กรัม (45 - 60% ของพลังงาน)หรือให้พลังงานประมาณครึ่งหนึ่ง (อีกครึ่งหนึ่งได้จากไขมันและโปรตีน) • สำหรับผู้มีอาชีพใช้แรงงาน ความต้องการทางแคลอรี่มาจากคาร์โบไฮเดรต 70-80% ซึ่งได้จากข้าวหรือข้าวเหนียวเป็นหลัก และจากแป้ง แลกโทส (จากนม) ซูโครส (จากอ้อย) และกลูโคส (จากผลไม้) เป็นต้น ซึ่งจะถูกย่อยและดูดซึมได้ดี และเป็นแหล่งของกลูโคสในเลือด
คาร์โบไฮเดรต แนวคิด หน่วยย่อยที่สุดของคาร์โบไฮเดรตที่มีความสำคัญต่อร่างกาย คือ โมโนแซคคาไรด์ชนิดกลูโคส กาแลกโตส ฟรุกโตส และ แมนโนส เมื่อน้ำตาลเหล่านี้ถูกเปลี่ยนแปลง ที่หมู่aldehyde/ketone หรือมีสารอื่นมาจับจะเกิดเป็นอนุพันธ์ของน้ำตาลมากมายน้ำตาลและอนุพันธ์ของน้ำตาลเหล่านี้สามารถจับกับสารอื่นที่ไม่ใช่คาร์โบไฮเดรต (โปรตีน ไขมัน) ด้วยพันธะโคเวเลนต์เรียกว่า Glycoconjugate เกิดเป็นสารประกอบคาร์โบไฮเดรตเชิงซ้อนที่เยื่อเซลล์ ซึ่งมีหน้าที่จดจำ (recognition) และการจับยึดระหว่างเซลล์ ทำให้เซลล์เติบโตและเกิดกระบวนการต่างๆและน้ำตาลดังกล่าวยังเป็นองค์ประกอบของโครงสร้างของสารภายนอกเซลล์(extra cellular matrix) หรือของผนังเซลล์ของพืช สัตว์และแบคทีเรีย รวมทั้งยังสำคัญต่อการทำงานของทางเดินอาหาร(gastro-intestinal function)
คาร์โบไฮเดรต บทบาทในร่างกาย 1.กลูโคส เป็นแหล่งพลังงานหลักของชีวิตและยังเป็นองค์ประกอบของเซลล์และโครงสร้างของร่างกาย 2.กลูโคสเป็นสารตัวกลางที่ขาดไม่ได้ในวิถีเมแทบอลิซึมของไขมัน และโปรตีนและถ้าได้คาร์โบไฮเดรตเพียงพอ ยังช่วยสงวนโปรตีนที่มีคุณค่าต่อร่างกายไว้ (Protein sparing Action)รวมทั้งช่วยควบคุมเมแทบอลิซึมของไขมันให้เป็น CO2 และน้ำ แต่ถ้าขาดคาร์โบไฮเดรตทำให้เกิดสารประเภทคีโตนบอดี้ (ketone bodies) คั่งในกระแสโลหิต(ketosis) 3.บทบาทในทางเดินอาหาร คาร์โบไฮเดรตเชิงซ้อนเป็นใยอาหารพบมากในพืช ผัก ช่วยการทำงานของลำไส้และเป็นแหล่งพลังงานของแบคทีเรียและการสร้างวิตามิน B ใยอาหารยังทำให้มีการขับกรด น้ำดี และโคเลสเตอรอล ออกมาในทางเดินอาหารได้ดี ทำให้ระดับโคเลสเตอรอล กลูโคสในเลือด คงที่ / ลดลง / เพิ่มชึ้นช้า
4.น้ำตาลและอนุพันธ์ของน้ำตาลสำคัญต่อการทำงานของของเยื่อเซลล์เช่นการจับกันระหว่างเซลล์หรือ binding of influenza virus กับtarget cells (Sialic acid) และมีความสำคัญต่อโครงสร้างของECM G
อันตรายจากคาร์โบไฮเดรต(Dangers)อันตรายจากคาร์โบไฮเดรต(Dangers) • ไม่ควรบริโภคอาหารที่มีปริมาณน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว/ โมเลกุลคู่ หรือดัดแปลงเติมน้ำตาล(refined carbohydrate)มากเกินจะเพิ่มระดับ glucose ในกระแสเลือดอย่างรวดเร็ว ไม่มีผลดีต่อสุขภาพ เสี่ยงต่อการเพิ่มน้ำหนัก ไขมันและโรคต่างๆเช่นdiabetes, cardiovascular disease และcancerเช่น ข้าวขาว • ขนมปังขาว ข้าวเหนียว ทุเรียน ลำไย • ควรบริโภคComplex Carbohydrate ที่เป็นใยอาหารเป็นประจำจะดีต่อสุขภาพเช่น แอปเปิ้ล ฝรั่ง ข้าวโพด ถั่วฝักยาว แครอท ถั่วเขียวและข้าวกล้อง เป็นต้น
ทั้ง cellulose และ starch มีหน่วย โมเลกุลย่อยเป็น Glucose หรือ เป็น Polymer ของ glucose เหมือนกัน ทำไมคุณสมบัติทางเคมี ต่างกันโดยสิ้นเชิง
CH2OH CH2OH CH2OH CH2OH H H O O H O O H H H OH H OH H H H H n H H OH OH H H OH OH Glucose Glucose Cellulose ( -1,4) CH2OH CH2OH H H H H O O H H H H H H O OH OH O O H H OH H H OH OH n Glucose Glucose Amylose ( -1,4) นอกจากนี้Glucose ,GalactoseหรือFructoseมีสูตรเคมีเป็นC6(H2O)6 เหมือนกัน แต่มีการจับของC-H-Olinkage ต่างกัน ส่งผลให้หน้าที่และปฎิกิริยาเคมี ในเซลล์ต่างกัน
วัตถุประสงค์ 1. สามารถระบุน้ำตาลชนิดโมโนแซคคาไรด์ที่พบบ่อยได้ เมื่อพิจารณาจากโครงสร้างของน้ำตาล
ลักษณะทางเคมีของคาร์โบไฮเดรตลักษณะทางเคมีของคาร์โบไฮเดรต 1. มี asymmetric centerอย่างน้อย 1 ตำแหน่งหรือมากกว่า 2. สามารถเกิดโครงสร้างแบบ linear หรือ ring structure 3. สามารถเกิดโครงสร้างแบบ polymer ด้วย glycosidic bond 4. สร้าง multiplehydrogen bonds กับน้ำและสารอื่นทั้งในเซลล์และนอกเซลล์
ชื่อย่อของน้ำตาลและอนุพันธ์ของน้ำตาลที่พบบ่อยชื่อย่อของน้ำตาลและอนุพันธ์ของน้ำตาลที่พบบ่อย Glucose Glc Galactose Gal Mannose Man Fucose Fuc N-Acetylneuraminate NANA (Sialic acid) (Sia) N-Acetylmuramic acid NAM N-Acetylglucosamine GlcNAc N-Acelylgalactosamine GalNAc Glucosamine GlcN Galactosamine GalN UDP-Glucose UDP-Glc Glucose-6-phosphate Glc-6-P Glucuronic acid GlcUA
โครงสร้างของโมโนแซ็กคาไรด์ที่พบมากในเซลล์เป็นน้ำตาลที่เกิดจากการรวมตัวของคาร์บอนตั้งแต่ 3 ตัวถึง 6 ตัว น้ำตาลกลุ่มนี้จัดอยู่ในกลุ่มของคาร์โบไฮเดรตที่มีขนาดโมเลกุลเล็กที่สุด เมื่อรับประทานร่างกายสามารถดูดซึมแล้วนำไปใช้ได้เลยโดยไม่ต้องย่อยจะละลายน้ำได้ดี เป็นผลึกสีขาว มีรสหวาน พบได้ใน ผัก ผลไม้ น้ำนม และน้ำผึ้ง
C2 epimer H H H O O O C C CH2OH C H-C-OH H-C-OH HO-C-H C=O HO-C-H HO-C-H HO-C-H HO-C-H HO-C-H H-C-OH H-C-OH H-C-OH H-C-OH H-C-OH H-C-OH H-C-OH CH2OH CH2OH CH2OH CH2OH C4 epimer Isomer D-Galactose D-Glucose D-Mannose D-Fructose โมโนแซคคาไรด์(C6H12O6)และไอโซเมอร์ของกลูโคส ทางการแพทย์ใช้กลูโคสเป็นแหล่งพลังงานที่ต้องใช้อย่างรวดเร็ว สำหรับคนป่วย น้ำตาลกลูโคสเป็นน้ำตาลชนิดเดียวในกระแสเลือดของมนุษย์ที่ได้จากการย่อยคาร์โบไฮเดรตจึงเรียกว่า น้ำตาลในเลือด (blood sugar)
CHO CHO HO-C-OH H-C-OH H-C-OH HO-C-H HO-C-H H-C-OH HO-C-H H-C-OH CH2OH CH2OH D-Glucose L-Glucose STEREOISOMER OF SUGAR สมบัติเชิงแสงที่ต่างกันของน้ำตาลในการบิดระนาบแสงไปทางขวา(dextrorotatory)/ ทางซ้าย(levorotatory) สูตรโครงสร้างแบบ D form และ L form ของน้ำตาลที่เสมือนเงาในกระจกซึ่งกันและกัน โดยกำหนดให้ดูหมู่ OH ของ asymetric C ตัวท้ายสุด ENANTIOMERS OR MIRROR IMAGES
การเกิดวงแหวน 5 (five member ring, furan) ของ D - Gal และ 6 อะตอม (six member ring, pyran) ของ D - Glu
H O Anameric carbon C OH H C 6 6 HO H C CH2OH CH2OH b H OH H H O C O OH 5 H 5 OH H H C H 4 1 4 1 OH H OH H CH2OH H HO OH HO 3 2 3 2 a D-Glucose (aldehyde form) H OH H OH -D-Glucose -D-glucopyranose) - D-Glucose -D-glucopyranose) ( ( ANOMER OF GLUCOSE โครงสร้างวงแหวนของ D-glucose ในสภาวะสมดุล พบรูปเบต้าประมาณ 64% รูปแอลฟาประมาณ 36% และรูปเส้นตรงหรืออัลดีไฮด์ 0.02% การเปลี่ยนรูปของน้ำตาลแบบนี้เรียกว่าmutarotation
C O HO C H CH2OH H OH C b H C OH 6 OH 1 6 HOH2C O CH2OH HOH2C O CH2OH 5 2 H HO 5 2 OH H HO H a H 3 4 CH2OH 3 4 1 OH H OH H D-Fructose (ketone form) -D-Fructofuranose -D-Fructofuranose การเกิด 5 member ring (furan) ของ fructose และ α, β anomer ของ fructose หมู่คีโต (C2) ทำปฏิกิริยากับหมู่ไฮดรอกซิล (C5) Anomeric carbon
วัตถุประสงค์ 2. บอกชนิดและองค์ประกอบของโครงสร้างของอนุพันธ์ของน้ำตาล
อนุพันธ์ของน้ำตาลชนิดต่างๆ เกิดจากปฏิกิริยาเคมีของน้ำตาล - Glycosidic linkage - Oxidation - Reduction - Amination - Phosphorylation - Epimerization (glycoside) (acid sugar) (alcohol sugar) (amino sugar) (phosphate sugar) (isomer sugar)
การเกิดอนุพันธ์ของน้ำตาลการเกิดอนุพันธ์ของน้ำตาล
O-glycosidic bonds CH2OH H O H CH2OH CH2OH H OCH3 H H O O OH H H OH HO H H + H2O OH OH H H H OH H HO HO OCH3 H OH H OH -D-Glucose Methyl- -D-Glucoside Methyl- -D-Glucoside a,b-Glycoside (น้ำตาล + แอลกอฮอล์หรือสเตียรอยด์) H+ + CH3OH + น้ำตาลสามารถสร้างglycosidic bond กับสารอื่น เกิดไกลโคไซด์หลายชนิด เรียกส่วนของโมเลกุลที่ไม่ใช่น้ำตาลว่า aglycone
เมธิลไกลโคไซด์ ouabain และ ปั๊มโซเดียม
COOH COOH (CH-OH)4 (CH-OH)4 CH2OH COOH D-Gluconic acid D-Glucaric acid (Aldonic acid) (Aldoric or Saccharic acid) 6 COOH Galactose CHO O (CH-OH)4 H COOH OH OH OH D-Glucuronic acid OH (Alduronic or Uronic acid) กรดน้ำตาล น้ำตาล (CHO) กรด (COOH) ออกซิเดชั่น Galacturonic acid
น้ำตาลแอลกอฮอล์ (POLYOLS) น้ำตาล แอลกอฮอล์ รีดักชั่น CH2OH CH2OH CH2OH H-C-OH H-C-OH H-C-OH HO HO HO-C-H HO-C-H H HO-C-H H H OH H-C-OH HO-C-H H H-C-OH OH H-C-OH H-C-OH HO H CH2OH H CH2OH CH2OH HO D-Xylitol Myo-Inositol D-Galactitol D-Sorbitol Glucose Galactose Xylose
น้ำตาลอะมิโน CH2OH H O OH H CH2OH H HO O O H HO H H O H H OH H OH NH-C-CH3 CH3-C-COOH NH2 D-lactic acid residue H H CH2OH a -D-Galactosamine N-Acetylmuramic acid (NAM) H O H H H OH OH HO NH2 H a -D-Glucosamine (GlcNAc) , NANA ,Sia) หมู่ -OH ของ C ถูกแทนที่ด้วยหมู่-NH2
น้ำตาลสามารถถูกออกซิไดส์ได้ด้วยสารละลายอื่นๆ เรียกน้ำตาลที่ถูกออกซิไดซ์ได้ว่าเป็นน้ำตาลรีดิวซ์ (reducing sugar) เช่น ถ้าใช้สารละลายด่างที่ชื่อ Benedict ซึ่งมี CuSO4 เป็นส่วนประกอบ น้ำตาลจะถูกออกซิไดซ์เป็นหมู่ COOH และมีคุณสมบัติที่จะรีดิวซ์สารอนินทรีย์คือ CuSO4 ได้เป็น Cu2O ซึ่งมีสีอิฐ และใช้หลักการนี้ตรวจสอบคุณสมบัติของน้ำตาลได้เรียก Benedict test ดังปฏิกิริยา
ATP ADP Glucose Glucose 6-phosphate ATP ADP Mannose Mannose 6-phosphate ATP ADP Galactose Galcatose 1-phosphate ATP ADP Fructose Fructose 1-phosphate น้ำตาลฟอสเฟต
ความสำคัญทางชีวเคมีของน้ำตาลที่พบบ่อยความสำคัญทางชีวเคมีของน้ำตาลที่พบบ่อย • ไรโบส (ribose) เป็นส่วนประกอบในโครงสร้างของกรดนิวคลีอิกและโคเอนไซม์ เช่น ATP NAD NADP flavoprotein และ intermediate ใน pentose phosphate pathway • ไซโลส (xylose) เป็นส่วนประกอบของ glycoprotein และ proteoglycan พบในยางของต้นไม้ • ไซลูโลส (xylulose)เป็น intermediate ใน uronic acid pathway • กลูโคส (glucose)เป็นแหล่งพลังงานให้กับเนื้อเยื่อต่างๆ พบในน้ำผลไม้ • ฟรักโทส (fructose)เปลี่ยนเป็นกลูโคสได้ และเป็นแหล่งพลังงานของอสุจิ • กาแลคโทส (galactose)เปลี่ยนเป็นกลูโคสได้ สร้างที่ต่อมน้ำนม เป็นส่วนประกอบของ glycolipid และ glycoprotein • แมนโนส (mannose)เป็นส่วนประกอบของ glycoprotein โดยเฉพาะที่เยื่อหุ้มเซลล์
ชนิดของน้ำตาล ความหวาน Fructose Sucrose Galactose Maltose Lactose Cornsyrup 173 100 32 32 15 20-36 เปรียบเทียบความหวานของน้ำตาลที่มีความสามารถย่อยสมบูรณ์กลายเป็น pure glucose(Dextrose) ทั้งหมด ถือว่ามีdextrose equivalent = 100
ชนิดของน้ำตาลเทียมความหวานชนิดของน้ำตาลเทียมความหวาน Cyclamate Aspartame Saccharin Sucralose 30 200 500 600 เปรียบเทียบความหวานของน้ำตาลเทียมที่ไม่ให้พลังงานโดยเทียบความหวานกับsucrose equivalent = 1
ชนิดของผลไม้กรัมคาร์โบไฮเดรทชนิดของผลไม้กรัมคาร์โบไฮเดรท Tamarind Durian Banana Orange Apple Guava Papaya 62.5 27.5 23.4 15.5 15.2 11.8 9.8 เปรียบเทียบน้ำตาลในผลไม้ในส่วนที่กินได้ 100 กรัม
วัตถุประสงค์ 3. บอกชนิดและความแตกต่างของโครงสร้างของไดแซคคาไรด์และโพลีแซคคาไรด์
Structure and cheimstry of oligosaccharides หน่วยย่อยหรือโมโนแซคคาไรด์ทั้งน้ำตาล 6 และ 5 คาร์บอน สามารถรวมตัวกันเกิดโครงสร้างที่จำเพาะด้วย glycosidic bond -ไดแซคคาไรด์(พบในธรรมชาติมาก) -โอลิโกแซคคาไรด์ (จะเกิดพันธะโคเวเลนต์กับชีวโมเลกุลต่างๆ)และ -โพลีแซคคาไรด์(พบทั้งแบบสายตรงและมีกิ่งก้าน(branched)
CH2OH HO H H OH H H H OH 6 6 6 6 6 CH2OH CH2OH CH2OH CH2OH CH2OH 1 HO H H H H OHCH2 O OH OH 5 5 5 5 5 H O O O H H H H H 2 1 1 O O H H H 4 4 OH OH 4 4 H H 5 4 OH OH OH H HO O H H H H H H HO CH2OH 3 3 2 2 3 3 2 2 3 2 3 4 6 H H OH OH H OH H H OH OH OH H Galactose Galactose Glucose Glucose Glucose Fructose Lactose Disaccharides-Simplest Oligosaccharides แลคโทสพบในน้ำนมสัตว์ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในเด็กมีเอนไซม์ lactase ช่วยย่อยน้ำนมทำให้ได้ Glcและ Gal เมื่อเป็นผู้ใหญ่เอนไซม์นี้จะลดลงทำให้ย่อยหรือใช้ประโยชน์จาก Gal ไม่ได้ เกิดภาวะ lactose intolerance ทำให้ปวดท้องและท้องเสียได้ Sucrose ซูโครส-น้ำตาลทราย-table sugarมีในอ้อย มะพร้าว หัวบีท สับปะรด แครอท
แป้ง 10-20% เป็นอะไมโลส ที่เป็นกลูโคสต่อกันเป็นเส้นตรง Helical structure of amylose (a1,4) and intra hydrogen bonding
-1,4 glycosidic bond CH2OH CH2OH H H H H O O Branch H H H H H H OH OH O O O (1,6) glycosidic bond H H OH H H OH OH OH CH2 CH2OH CH2OH CH2OH CH2OH CH2OH CH2OH H H H H H H Main chain O O H H O O H H H H H H H H OH H H H H OH O OH OH O O O O H H OH H OH OH OH H H OH H H OH OH OH Amylopectin โพลีแซคคาไรด์ เป็นกลูโคสต่อกันทั้งที่เป็นสายตรงและแขนง
LIVER = 10% BY WEIGHT MUSCLE = 1-2% BY WEIGHT KIDNEY = TRACE -1,4 glycosidic bond CH2OH CH2OH H H H H O O H H H H H H OH OH O O (1,6) glycosidic bond O H H OH H H OH OH CH2 CH2OH CH2OH CH2OH CH2OH CH2OH CH2OH H H H H H H O O H H O O H H H H H H H H OH H H H H OH O OH OH O O O O H H OH H OH OH OH H H OH H H OH OH OH Glycogen
Inter hydrogen bonding CH2OH CH2OH CH2OH CH2OH H H O b O H O O H H H OH H OH H H H H n H H OH OH H H OH OH Glucose Glucose Cellulose (b-1,4) • ทำหน้าที่เป็นโครงสร้างของพืช • จัดเป็นกลุ่มในใยอาหารที่ไม่ละลายน้ำ • เป็นสารอินทรีย์ที่มีมากที่สุด • ร่างกายคนไม่สามารถย่อยเซลลูโลสได้ Macrofibril
ใยอาหารมี 2 ชนิด ลักษณะเป็นเมือกใสๆ หรือขุ่น ดูดซับสารพิษ ลดระดับโคเลสเตอรอลและน้ำตาลในเลือด พบมากในผลไม้ พืชตระกูลถั่วบางชนิด และธัญพืช เช่น ข้าวโอ๊ต ข้าวบาร์เลย์ – pectin/gum เป็นเส้นใยที่แข็งแรงแน่นหนาทำหน้าที่เป็นมวลให้อาหารและกากอาหารเคลื่อนที่ได้ดีในลำไส้ใย พบมากในพืชผักเมล็ดทานตะวัน ฟักทอง-- cellulose Hemicelluloseและ lignin (phenol)
ลักษณะและองค์ประกอบของใยอาหารลักษณะและองค์ประกอบของใยอาหาร • เพคทิน (pectin) มีลักษณะคล้ายวุ้น เพคทินพบมากในผนังเซลล์พืช ทำหน้าที่ยึดเซลล์ให้เชื่อมติดต่อกัน –polygalacturonic acid • Gum ที่ได้จากต้น acacia พบในถั่วและข้าวโอ๊ต—glucuronic acid+ galactose • เซลลูโลส (cellulose) สัตว์ที่กินหญ้าจะสามารถย่อยเซลลูโลสได้โดยอาศัยแบคทีเรียในกระเพาะอาหารย่อยจะได้น้ำตาลกลูโคส แต่ถ้าสลายไม่สมบูรณ์ จะได้เซลโลไบโอส ประกอบด้วยกลูโคสประมาณ 1,000-12,500 โมเลกุล • เฮมิเซลลูโลส (hemicelluloses) เป็นส่วนประกอบของผนังเซลล์พืช เป็น polymerของ glucose และมีโมเลกุ ของ XyloseManoseและ Galactoseเป็นจำนวนมาก
โพลีแซคคาไรด์อื่นๆ • Chitin • เป็น β 1,4 ของ GlcNAc • มีมากเป็นอันดับสองรองจาก cellulose • เป็นโครงสร้างแข็งภายนอกของเปลือกกุ้ง,หอย แมลง • Inulin • เป็น fructosan (fructose)n • พบในรากพืช ละลายได้ดีในน้ำ ใช้วิเคราะห์หาค่าการทำงานของไต (GFR) • Fructans (Fructooligosaccharides;FOS)-Functional Fiber • ช่วยการทำงานของแบคทีเรียชนิดดีในทางเดินอาหาร ทำให้ขับถ่ายได้ ลดปัญหาท้องผูกเรื้อรัง ขับสารพิษออกทางอุจจาระ
ประเภทคาร์โบไฮเดรตตามโครงสร้างประเภทคาร์โบไฮเดรตตามโครงสร้าง • Simple Carbohydrate คือคาร์โบไฮเดรตที่ไม่มีสารอื่นอยู่ในโมเลกุลแบ่งเป็นโมโมแซคคาไรด์, ไดแซคคาไรด์โอลิโกแซคคาไรด์และโพลีแซคคาไรด์ซึ่งจะถูกเปลี่ยนแปลงให้กลูโคสที่เป็นสารให้พลังงานต่อร่างกายนอกจากนี้น้ำตาลไรโบสและดีออกซีไรโบสยังเป็นส่วนประกอบของโครงสร้างของDNA และRNA 2.Complex Carbohydrate คือคาร์โบไฮเดรตที่มีสารอื่นอยู่ในโมเลกุลได้แก่ไกลโคโปรตีนไกลโคลิปิดที่เป็นส่วนประกอบของเยื่อหุ้มเซลล์โครงสร้างของสารภายนอกเซลล์เป็นโครงสร้างที่เป็นโครงร่าง(skeleton)และเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน(connective tissue)และยังเป็นส่วนประกอบของพืชผักผลไม้ที่รวมเรียกว่าใยอาหารซึ่งมีบทบาทเชิงโภชนาการที่สำคัญแต่ไม่ให้พลังงาน
วัตถุประสงค์ 4. บอกชนิดและความสำคัญของ glycosaminoglycans (GAG)
GAG CH2OH COOH O O H H H H O 1 H 4 1 OH H H HO H 3 H H NH OH O C O CH3 D-Glucuronate Acetyl group n N-Acetyl-D-glucosamine ความสำคัญของ GAG 1. Polymer ของ repeating disaccharide unit (Acidic sugar + Amino sugar) 2 มีหลายชนิดและโมเลกุลมี carboxylgroup(COOH) และอาจมี sulfate group ทำให้มีประจุลบมาก (polyanion)มีคุณสมบัติจับไอออนบวกชนิดต่างๆ
ความสำคัญของ GAG 3. มีลักษณะคล้ายเจล ดูดน้ำได้ดี ทำหน้าที่หล่อลื่น ให้ความยืดหยุ่น พบมากในน้ำไขข้อ น้ำหล่อลื่นลูกตาและเยื่อเมือก(acid mucopolysaccharide) 4.ส่วนใหญ่พบรวมกับโปรตีนเป็นสารเชิงซ้อน เรียก Proteoglycan มีขนาดแตกต่างกันและพบอยู่ในรูปอิสระ (GAG)เล็กน้อย 5.พบมากในเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน ผิวหนัง กระดูกอ่อน /เยื่อฐานของ epithelial cell ผิวเซลล์และช่องว่างระหว่างเซลล์หรือที่ extra cellular matrix 6.ปัจจุบันมีการนำ GAGและ glucosamineมาใช้รักษาผู้ป่วยที่มีไขข้อเสื่อม 7.ใช้ในระบบการแข็งตัวของเลือด Heparin (15 kDa) จะรวมตัวกับ Antithrombin ยับยั้งการทำงานของ thrombin มีการผลิต low molecular weight heparin (LMWH, 4-5 kDa) ใช้ในการป้องกันและรักษาการแข็งตัวของเลือดและหลอดเลือดดำชั้นลึก และโรคต่างๆ
CH2OSO3- H O H O H H H H COO- 4 1 OH H 4 1 OH H O 2 O 2 H NHOSO3- OSO3- H N-Sulfo-D-glucosamine-6-sulfate D-Iduronate-2-sulfate Heparin (n = 15 – 30)พบมากในผนังหลอดเลือด เป็น GAG ชนิดเดียวที่พบอยู่ ในเซลล์ของปอด ม้ามและตับ CH2OSO3- CH2OH H OH O O H H 1 4 O OH O H H H H 3 H H NHCOCH3 H OH D-Galactose N-Acetyl-D-glucosamine-6-sulfate Keratan sulfate (n = 20 – 40) พบมากในเอ็นกระดูกอ่อน
CH2OH COO- O O H H H H O 1 H 4 1 OH H H HO H 3 H H NHCOCH3 OH O D-Glucuronate N-Acetyl-D-glucosamine Hyaluronate (n = 30 – 50,000) พบมากในน้ำไขข้อและเลนส์ตา CH2OH H O O -O3SO H H COO- O 1 H 4 1 OH H H H H 3 H H NHCOCH3 OH O L-Iduronate N -Acetyl-D-galactosamine 4-Sulfate Dermatan sulfate (n = 20-250)พบมากในผิวหนัง เอ็นและลิ้นหัวใจ Hyaluronic acid/ hyaluronan
CH2OSO3- COO- OH O O H H H 1 O H 4 1 H OH H H 3 H O H H NHCOCH3 OH N-Acetyl-D-galactosamine-6-Sulfate D-Glucuronate Chondroitin-6-sulfate (n = 15 – 30)พบมากในเอ็นกระดูกอ่อน และเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน CH2OSO3- COO- O H O H H H H H 1 4 OH H 4 1 OH H O 2 O 2 H H NHCOCH3 OSO3- D-Glucuronate N-Acetyl-glucosamine Heparan sulfate (n = 15 – 30)พบมากที่ basement membrane