410 likes | 419 Views
การสร้างแบบวัดครามรู้. ศาสตราจารย์บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา โทร. 086 0709 757. หลักการทำวิจัย. 1. ทำอย่างมีจุดมุ่งหมาย 2. ทำอย่างมีระบบ 3. ทำอย่างมีระเบียบ 4. ทำอย่างมีเหตุผล 5. ทำแล้ว ต้องตรวจสอบผลได้. กระบวนการทำวิจัย. 1. คิด 2. ค้น
E N D
การสร้างแบบวัดครามรู้การสร้างแบบวัดครามรู้ ศาสตราจารย์บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา โทร. 086 0709 757
หลักการทำวิจัย 1. ทำอย่างมีจุดมุ่งหมาย 2. ทำอย่างมีระบบ 3. ทำอย่างมีระเบียบ 4. ทำอย่างมีเหตุผล 5. ทำแล้ว ต้องตรวจสอบผลได้
กระบวนการทำวิจัย 1. คิด 2. ค้น 3. อ่าน 4. วิจารณ์ 5. เขียน
ขั้นตอนการทำวิจัย 1. สงสัย คำถามวิจัย 2. ทำข้อสงสัยให้ชัดเจน 3. เก็บข้อมูล 4. พิสูจน์ 5. ยืนยัน
ข้อมูลคืออะไร ??? ?
ความหมายที่เข้าใจง่ายความหมายที่เข้าใจง่าย (Joke Definition) ผู้ป่วยที่มาโรงพยาบาลด้วยอาการท้องผูก เมื่อถ่าย จะเป็น ข้อๆ จึงเรียก สิ่งที่ถ่ายออกมาว่า ข้อมูล
ความหมายที่เข้าใจยาก (Conceptual Definition) สิ่ง หรือ ข้อเท็จจริงที่สนใจศึกษา
ความหมายที่วัดได้ (Operational Definition) สัญลักษณ์ ตัวหนังสือ ตัวเลขที่บอกลักษณะ อาการหรือปริมาณ ของตัวแปรที่ศึกษา
ความหมายของการเก็บข้อมูลความหมายของการเก็บข้อมูล เป็นกระบวนการเปลี่ยนแนวคิดหรือตัวแปร ที่ศึกษาให้เป็นข้อมูลด้วย การนับ(Count) การวัด(Measure)
คุณภาพข้อมูล ข้อมูลดี ถูกต้อง มีคุณภาพต้องผ่านกระบวนการนับหรือวัดที่มีความตรง ความเที่ยง ข้อมูลที่เก็บมาไม่ดี ไม่มีคุณภาพ นำไปวิเคราะห์ ผลวิเคราะห์ที่ได้จะเป็น จิ๊กโก๋ (GIGO=Garbage in, Garbage out)
เทคนิควิธีเก็บรวบรวมข้อมูลเทคนิควิธีเก็บรวบรวมข้อมูล 1. คัดลอก บันทึก 2. สังเกต 3. สัมภาษณ์ 4. แบบวัด
แบบวัด(Self Report) 1.เป็นเครื่องมือเก็บข้อมูลที่ตัวอย่างอ่านเองและตอบเอง 2. เป็นชุดคำถามอย่างเป็นทางการ มีโครงสร้างและส่วนประกอบชัดเจน ใช้เก็บข้อมูลจากผู้มีข้อมูล
วัตถุประสงค์ของแบบวัดวัตถุประสงค์ของแบบวัด 1. เปลี่ยนตัวแปรที่ศึกษาให้เป็นข้อมูลหรือชุดคำถามที่เจาะจง ผู้ตอบเข้าใจและสามารถตอบได้ 2. กระตุ้น จูงใจให้ผู้ตอบ อยากตอบทุกข้อคำถาม และตอบอย่างสมบูรณ์ 3. ลดความคลาดเคลื่อนของการตอบให้เหลือน้อยสุด
ประเภทของแบบวัด 1. แบบทดสอบ 2. แบบสอบถาม 3. แบบประเมิน 4. แบบวัดทางจิตวิทยา
การสร้างแบบวัดความรู้การสร้างแบบวัดความรู้ Test Construction
ระดับความรู้ 1.รู้จำ(Knowledge) 2.เข้าใจ(Comprehension) 3.ประยุกต์(Application) 4.วิเคราะห์(Analysis) 5.สังเคราะห์(Synthesis) 6.ประเมิน(Evaluation)
วิธีการวัด 1.สังเกต 2.สัมภาษณ์ 3.แบบทดสอบ
ชนิดหรือประเภทแบบวัด 1.แบบอิงกลุ่มกับแบบอิงเกณฑ์ 2.แบบความเรียงกับแบบเลือกตอบ
ประเภทคำถามแบบเลือกตอบประเภทคำถามแบบเลือกตอบ 1.แบบถูกผิด 2.แบบสองตัวเลือก 3.แบบหลายตัวเลือก
ขั้นตอนการสร้างแบบวัดความรู้ขั้นตอนการสร้างแบบวัดความรู้ 1.กำหนดเนื้อหาและพฤติกรรมที่ต้องการวัด 2.เลือกชนิดและรูปแบบคำถาม 3.ร่างข้อคำถาม คำตอบ 4.จัดเรียงและทำรูปเล่ม 5.ตรวจ ปรับปรุง แก้ไข 6.ตรวจสอบคุณภาพ
การกำหนดเนื้อหาและพฤติกรรมการกำหนดเนื้อหาและพฤติกรรม
คำถามวัดรู้จำ 1.คำว่า งาน เป็นหน่วยวัดของอะไร ก. พลังงาน ข. แรงงาน ค. แรงม้า ง. พื้นที่
2. ทองคำ 1 บาทมีมวลหนักประมาณกี่กรัม ก. 5 ข. 10 ค. 15 ง. 20
คำถามวัดเข้าใจ 3. คำใดไม่ใช่น้ำ ก. น้ำเคย ข. น้ำตาย ค. น้ำต้อย ง. น้ำดอกไม้
4. อวัยวะใดของปลาทำหน้าที่คล้ายกับปอดคน ก. จมูก ข. ปาก ค. ผิวหนัง ง. เหงือก
คำถามวัดประยุกต์ 5. หมู เป็ด ไก่ นับขารวมกันได้ 40 ขา ถ้ามีสัตว์ทั้ง 3 ชนิดอย่างละเท่าๆ กัน จะมีหมูกี่ตัว ก. 4 ตัว ข. 5 ตัว ค. 6 ตัว ง. 7 ตัว
6. จะใช้ตัวอย่างในข้อใดเพื่อแสดงว่า ความร้อนเป็นพลังงาน ก. จุดคบเพลิง ข. หุงข้าว ค. ปิ้งปลา ง. การเสียดทาน
คำถามวัดวิเคราะห์ 7. กระบวนการของการวิจัยเริ่มต้นจากอะไรก่อน ก. ปัญหา ข. สมมติฐาน ค. การพิสูจน์ ง. แนวความคิด
8.วิชาสถิติกับวิชาการวิจัยมีสิ่งใดคล้ายกันมากที่สุด8.วิชาสถิติกับวิชาการวิจัยมีสิ่งใดคล้ายกันมากที่สุด ก. ความยาวของเนื้อหา ข. การใช้ตัวเลข ค. การพิสูจน์สมมติฐาน ง. การใช้เวลา
คำถามวัดสังเคราะห์ 9. ต้องใช้เลขจำนวนใดที่มีค่าน้อยที่สุดไปรวมกับ 171 แล้วใช้ 4 หารลงตัว ก. 1 ข. 2 ค. 3 ง. 4
10. นายสมนึกเป็นคนสุจริต เพราะเขานับถือพระพุทธศาสนา ก. พระพุทธศาสนาสอนให้คนสุจริต ข. คนจริตส่วนมากนับถือพระพุทธศาสนา ค. คนนับถือพระพุทธศาสนาทุกคนสุจริต ง.คนนับถือศาสนาอื่นไม่แน่ว่าจะสุจริต
คำถามวัด ประเมินค่า 11. ในสายตาของคนทั่วไปคิดว่านางวันทองเป็นคนเช่นไร ก. เป็นคนใจง่าย ข. ถือความเสมอภาค ค. เป็นตัวอย่างที่ไม่ดี ง. เป็นตัวอย่างที่ดี
12. ความดีหรือความชั่วตามพระพุทธศาสนาใช้เกณฑ์ใดตัดสิน ก. การกระทำ ข. ประโยชน์ในชาตินี้ ค. ประโยชน์ในชาติหน้า ง. ความเห็นของคนส่วนใหญ่
หลักการเขียนคำถามเลือกตอบหลักการเขียนคำถามเลือกตอบ ตัวคำถาม 1.ใช้ภาษาสมบูรณ์ในตัวเอง และเฉพาะเจาะจง 2. มีปัญหาหลักเพียงปัญหาเดียว 3. ต้องไม่ใช้ประโยคปฏิเสธ 4. แต่ละข้อต้องไม่เกี่ยวข้องกัน 5.ใช้ภาษาสั้น กะทัดรัด ชัดเจน
ตัวเลือก 1. เนื้อหาทุกตัวเลือกเป็นเรื่องเดียวกัน 2. ทุกตัวมีโอกาสถูกพอ ๆ กัน 3. ทุกตัวควรง่าย ยาก พอ ๆ กัน 4. ภาษาไม่ควรสอดคล้องกับตัวคำถาม
5. มีความสั้นยาวพอ ๆ กัน 6. ตัวเลือกแต่ละตัวเป็นอิสระกัน 7. คำตอบเป็นตัวเลขควรเรียงกันตามลำดับ 8. ไม่ให้ใช้ ถูกทุกข้อ ผิดทุกข้อ
การเรียงข้อคำถาม 1. เรียงตามเนื้อหา 2. เรียงตามลำดับจากง่ายไปยาก 3. ต้องวางรูปแบบการเรียงตามความเคยชิน 4. แต่ละตัวเลือกจะใช้ตัวหนังสือหรือตัวเลขก็ได้
การตรวจ ปรับ แก้ไข 1. ตรวจสอบเอง 2. ให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบ 3. ทดลองใช้
การตรวจสอบรายข้อ 1. ความยากง่าย 2. อำนาจจำแนก 3. ความเป็นปรนัย 4. การมีความหมายในการวัด 5. การนำไปใช้
การตรวจสอบทั้งฉบับ 1. หาความตรง(Validity) 2. หาความเที่ยง(Reliability)
การสร้างแบบวัด ** ยังไม่จบ ** ขอพักก่อน