1 / 167

นายแพทย์วิชัย เทียนถาวร ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำกระทรวงสาธารณสุข

ระบบเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกัน DM&HT ในประเทศไทย นโยบาย สู่ การปฏิบัติ. นายแพทย์วิชัย เทียนถาวร ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำกระทรวงสาธารณสุข. หัวข้อในการนำเสนอ. การสาธารณสุขไทย 1. กรอบแนวคิด การดูแล “สุขภาพ” 2. ยุคสมัยการแพทย์ และสาธารณสุขไทย “อดีต ปัจจุบัน อนาคต” 3. สถานการณ์สุขภาพของคนไทย

corby
Download Presentation

นายแพทย์วิชัย เทียนถาวร ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำกระทรวงสาธารณสุข

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระบบเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกัน DM&HT ในประเทศไทย นโยบาย สู่ การปฏิบัติ นายแพทย์วิชัย เทียนถาวร ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำกระทรวงสาธารณสุข

  2. หัวข้อในการนำเสนอ การสาธารณสุขไทย 1. กรอบแนวคิด การดูแล “สุขภาพ” 2. ยุคสมัยการแพทย์ และสาธารณสุขไทย “อดีต ปัจจุบัน อนาคต” 3. สถานการณ์สุขภาพของคนไทย “โรค NCD ปัญหาของชาติ” 4. การสาธารณสุขไทยใน “ทศวรรษหน้า”

  3. หัวข้อในการนำเสนอ 5. นโยบายด้านการสาธารณสุข โดยนายกรัฐมนตรี นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร 6. ระบบการเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกัน โรค NCD : DM&HT ในประเทศไทย - หลักการ - ระบบเฝ้าระวังในประเทศไทย - นโยบายเป้าหมายใน 4 ปี - ความสำเร็จ - ผลลัพธ์ 7. สรุป

  4. 1 • กรอบแนวคิด

  5. “ชีวิตคนเรา”...ก็เท่านี้“ชีวิตคนเรา”...ก็เท่านี้

  6. เมืองไทย แข็งแรง พ.ศ. 2560 คนไทยอายุเฉลี่ย 80 ปี เมืองไทย แข็งแรง แข็งแรงด้าน สุขภาพกาย จิตใจ สังคมดี เศรษฐกิจพอเพียง และปัญญาดี คนไทยแข็งแรง คนไทยแข็งแรง หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 30 บาทรักษาทุกโรค (รักษาคนป่วย หายป่วย แข็งแรง) การสร้างสุขภาพ (คนปกติ แข็งแรง) คนไทย 64 ล้านคน ทุกสถานที่ ศูนย์เด็กเล็ก โรงเรียนโรงพยาบาล สถานที่ทำงาน วัด ฯลฯ ทุกวัย แม่ ปฐมวัย วัยเรียน วัยทำงาน ผู้สูงอายุ ทุกอาชีพ แม่บ้าน นักเรียน เกษตรกร แรงงาน ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส ฯลฯ อายุยืน เพิ่มรายได้/เศรษฐกิจพอเพียง สถานที่ส่งเสริมสุขภาพ

  7. Road Map : สร้างคนไทยแข็งแรง เมืองไทยแข็งแรง (Healthy Thailand) เทิดพระเกียรติ 90 พรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (2548 – 2560)

  8. 2 • ยุคสมัยการแพทย์ • และสาธารณสุขไทยอดีต ปัจจุบัน อนาคต

  9. Periods 1 Conventional H.P era (1942-1977) Epidemic and Communicable Disease Periods 3 Periods 2 New ParadigmH.Pera(2003-Present) Primary health care era (1978-2002)

  10. บ้านเรา

  11. ยุคที่ 1 • ยุคสร้างสุขภาพดั้งเดิม • (โรคติดต่อ /โรคระบาด)

  12. ปี 2511 สำนักงานผดุงครรภ์

  13. ปี 2517 สุขศาลา สุขศาลาชั้น ๒ : กิ่งอำเภอหนองบัว จังหวัดนครสวรรค์

  14. ปี 2518 ประกาศนโยบาย “รักษาฟรี ผู้มีรายได้น้อย”

  15. ปี 2527 สถานีอนามัย

  16. ปี 2535 “ทศวรรษพัฒนาสถานีอนามัย”

  17. พัฒนาสถานีอนามัยขนาดใหญ่ เป็น สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา นวมินทราชินี

  18. ยุคที่ 2 • ยุคสาธารณสุขมูลฐาน

  19. ยุคโรคติดต่อ โรคระบาด ไปทุ่ง

  20. รณรงค์สร้างส้วม

  21. นายอินทร์ ไชยถา แพทย์ประจำตำบลสง่าบ้าน กำลังหล่อบล็อคส้วม แนะนำส้วม ที่หมู่บ้านป่างิ้ว แผ่นส้วมแต่ละประเภท

  22. ภาวะโภชนาการในเด็ก

  23. 2521 สสม. Primary Health care 8 Elements N= Nutrition E = Education W = Water Supply S= Sanitation

  24. Primary Health care 8 Elements I= Immunization T= Treatment of Common Diseases E= Essential Drugs M= Maternal and Child Health

  25. 2527 ปีรณรงค์ สสม. แห่งชาติ 16 Elements

  26. 2528-2530 ปีแห่งการณรงค์คุณภาพชีวิต กม. เกิด จปฐ. คปต. กสต.

  27. 2529 2543 ประชุม ณ ประเทศ แคนาดา เกิด “Ottawa Charter” Health For Allสุขภาพดี ถ้วนหน้า

  28. ยุคที่ 3 • ยุคส่งเสริมสุขภาพแนวใหม่

  29. ปี 2546 ศูนย์สุขภาพชุมชน (PCU) ตติยภูมิ ทุติยภูมิ ปฐมภูมิ

  30. ปี 2545-2546 หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

  31. ปี 2553

  32. งานฐานราก

  33. 2544 หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ30 บาท...รักษาทุกโรค “ติดกับดัก”

  34. ปี 2546 รวมพลัง สร้างสุขภาพ แห่งชาติ ปี แห่งการสร้างสุขภาพทั่วไทย 6 อ.

  35. ปี 2548 “ส่งเสริมสุขภาพโลก ครั้งที่ 6” เจ้าภาพจัดประชุม สิงหาคม 2548 The Bangkok Charter for Health Promotion in a Globalized World

  36. ความต่างของ 3 ยุค

  37. ยุคโรคระบาด โรคติดต่อ ยุคสาธารณสุขมูลฐาน ยุคส่งเสริมสุขภาพแนวใหม่

  38. ยุคส่งเสริมสุขภาพแนวใหม่ยุคส่งเสริมสุขภาพแนวใหม่ ยุคโรคระบาด โรคติดต่อ ยุคสาธารณสุขมูลฐาน

  39. คัมภีร์ ยุทธศาสตร์ สร้างสุขภาพแนวใหม่ • OTTAWA CHARTER • BANGKOK CHARTER

  40. DR PES 5 มาตรการ

  41. กรอบแนวคิดบูรณาการกิจกรรมกรอบแนวคิดบูรณาการกิจกรรม PPeople Oriented คนเป็นศูนย์กลาง 3ด้าน/P P Place Oriented สถานที่เป็นศูนย์กลาง P Partnership การมีส่วนร่วม

  42. กลยุทธ์ในการสร้างเสริมสุขภาพ ตาม Ottawa Charter Mediate สื่อกลาง ประสานประชาชน Enable สนับสนุนประชาชน ชุมชนเข้มแข็ง Advocate กระตุ้นประชาชน รัฐ เพื่อให้เกิด นโยบายสาธารณะ Empowerment for Health

  43. Bangkok Charter กลยุทธ์ PIRAB Partner and build alliances สร้างภาคีเครือข่าย รัฐ เอกชน ประชาสังคม และองค์กร ระหว่างประเทศ เพื่อการส่งเสริมสุขภาพที่ยั่งยืน Invest การลงทุนพัฒนาที่ยั่งยืน Regulate and Legislate ออกระเบียบ กฎ และกฎหมาย เพื่อให้ประชาชนได้รับการคุ้มครองจากภยันตราย และมีโอกาสมีสุขภาพดีเท่าเทียมกัน • Build Capacity • การสร้างศักยภาพ เพื่อ • พัฒนานโยบาย • สร้างภาวะผู้นำ • พัฒนาทักษะส่งเสริมสุขภาพ • การถ่ายทอดความรู้ การวิจัย มีความแตกฉานด้านสุขภาพ Advocate ชี้นำเพื่อสุขภาพ

  44. เมื่อ โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ...เป็นปัญหาระดับชาติ

  45. 3 • สถานการณ์สุขภาพ • ของคนไทย

  46. ก้าวเข้าสู่ยุคโรคไม่ติดต่อเรื้อรังหรือโรควิถีชีวิตก้าวเข้าสู่ยุคโรคไม่ติดต่อเรื้อรังหรือโรควิถีชีวิต เศรษฐกิจ เทคโนโลยี สังคม สาเหตุ เปลี่ยนแปลง วิถีชีวิต

  47. อดีต ปัจจุบัน

  48. ปัจจุบัน อดีต

More Related