1.01k likes | 1.6k Views
บทที่ 1. แนวคิดเกี่ยวกับ การวิเคราะห์ เชิงปริมาณ. แนวคิดเกี่ยวกับ QA. QA – กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการรวบรวมข้อมูลและเงื่อนไขต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง นำมาประเมินเป็นตัวเลขโดยใช้หลักตรรกวิทยา คณิตศาสตร์ และสถิติ เป็นเครื่องมือเพื่อการตัดสินใจในการปฎิบัติงาน
E N D
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการวิเคราะห์เชิงปริมาณ
แนวคิดเกี่ยวกับ QA • QA – กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการรวบรวมข้อมูลและเงื่อนไขต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง นำมาประเมินเป็นตัวเลขโดยใช้หลักตรรกวิทยา คณิตศาสตร์ และสถิติ เป็นเครื่องมือเพื่อการตัดสินใจในการปฎิบัติงาน • QA – เป็นความรู้ในสาขาเศรษฐศาสตร์ที่นำไปใช้วิเคราะห์ปัญหา ค้นหาคำตอบ เพื่อสรุปการตัดสินใจ
ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์ • การสังเกต(Observation) • การกำหนดปัญหา (Definition of the Problem) • การตั้งสมมติฐาน (Formulation of Hypothesis) • การทดลอง (Experimental) • การสรุป (Conclusion)
กระบวนการตัดสินใจการวิเคราะห์เชิงปริมาณกระบวนการตัดสินใจการวิเคราะห์เชิงปริมาณ ไม่ยอมรับ
สาเหตุของความล้มเหลวของ QA • การระบุปัญหาผิดพลาด • ใช้เวลามากเกินไป • การเสียค่าใช้จ่ายที่สูง • การกำหนดหลักเกณฑ์ที่เน้นทฤษฎีมากเกินไป • การมีพฤติกรรมต่อต้านจากผู้เกี่ยวข้อง • ไม่สามารถทำให้ผู้เกี่ยวข้องยอมรับ
บทที่ 2 ทฤษฎีการตัดสินใจ
ความหมายของการตัดสินใจความหมายของการตัดสินใจ • การตัดสินใจ(Decision Making) – การพิจารณาเลือกทางเลือกที่มีอยู่มากกว่า 1 ทางเลือก • การตัดสินใจสามารถจำแนกได้เป็น 3 ชนิด คือ • การตัดสินใจภายใต้ความแน่นอน (Decision making under condition of certainty) • การตัดสินใจภายใต้ความเสี่ยง (Decision making under condition risk) • การตัดสินใจภายใต้ความไม่แน่นอน (Decision making under uncertainty)
การตัดสินใจภายใต้ความเสี่ยงการตัดสินใจภายใต้ความเสี่ยง • การตัดสินใจที่ไม่ทราบผลลัพธ์ที่แน่ชัดว่าจะเกิดเหตุการณ์ใดขึ้น • ทราบถึงโอกาสหรือความน่าจะเป็น(Probability)ที่จะเกิดเหตุการณ์ จน.เหตุการณ์ที่สนใจ/คาดหวัง จน.เหตุการณ์ทั้งหมด ความน่าจะเป็น (Probability) =
ตัวแบบการตัดสินใจ • เมทริกซ์การตัดสินใจ (Decision matrix) • การแสดงข้อมูลการตัดสินใจในรูปตาราง • แขนงการตัดสินใจ (Decision tree) • การแสดงข้อมูลในรูปแผนภาพ
เมทริกซ์การตัดสินใจ ให้แกนนอนแทนทางเลือก แกนตั้งแทนเหตุการณ์ โดยที่ Cijแทน ผลตอบแทนหรือผลลัพธ์ของทางเลือกที่ i เหตุการณ์ j
มูลค่าคาดหวังทางการเงิน (EMV) Expected Monetary Value : EMV • มูลค่าของต้นทุนหรือกำไรเมื่อนำเอาค่าความน่าจะเป็นเข้ามาพิจารณาในการคำนวณมูลค่านั้น ๆ EMV = มูลค่าของต้นทุนหรือกำไร ความน่าจะเป็น EX. ผู้ประกอบการคาดว่ามีโอกาสถึง 70% ที่จะมีกำไร 50,000 บาท แต่ก็มีโอกาส 30% ที่จะกำไรเพียง 40,000 บาท EMV = (50,00000.7) + (40,0000.3) = 47,000 บาท
EX.I – ร้านดอกไม้แห่งหนึ่งกำลังพิจารณาที่จะสั่งดอกไม้มาจำหน่าย โดยต้นทุนของดอกไม้ 30 บาท/ดอก แล้วนำมาจำหน่ายหน้าร้าน ราคา 50 บาท/ดอก อย่างไรก็ตามหากดอกไม้จำหน่ายไม่หมดภาย ใน 3 วัน จะนำมาเลหลังในราคา 10 บาท/ดอก จากข้อมูลการจำหน่ายที่ผ่านมาเป็นดังนี้ ร้านดอกไม้แห่งนี้ควรจะสั่งดอกไม้มาจำหน่ายกี่ดอก
แขนงการตัดสินใจ • หลักการสร้างแขนงการตัดสินใจ • สร้างแขนงการตัดสินใจจากซ้ายไปขวา • ทางเลือกของจุดตัดสินใจต้องมีมากกว่า 1 ทางเลือก • ที่ปลายทางของแขนงการตัดสินใจทางเลือกทุกทางเลือกจะต้องมีเหตุการณ์เกิดขึ้นเสมออย่างน้อย 1 เหตุการณ์ • แขนงการตัดสินใจสุดท้ายของแต่ละทางเลือกจะสิ้นสุดด้านขวามือ
C11 เหตุการณ์ 1 จุดตัดสินใจ เหตุการณ์ 2 C12 ทางเลือกที่ 1 เหตุการณ์ 3 C13 C21 เหตุการณ์ 1 ทางเลือกที่ 2 เหตุการณ์ 2 C22 เหตุการณ์ 3 C23
EX.II- บริษัทผลิตรถแทรกเตอร์สนใจจะสร้างรถเกี่ยวข้าวรุ่นพิเศษ โดยจ้างสถาบันวิจัยวิศวกรรมออกแบบ และตั้งงบประมาณไว้ 2.5 ล้านบาท(ดำเนินการยื่นซองประกวดราคา) สถาบันวิจัยไทยวิศวกรรมพิจารณาที่จะยื่นซองประกวดราคาและ ประมาณค่าใช้จ่ายไว้ 5 แสนบาท ซึ่งมีโอกาสที่จะได้ทำสัญญา (ชนะการยื่นประกวดราคา)มีเพียง 50% อย่างไรก็ตามถ้าได้ทำสัญญาจะต้องพิจารณาเลือกวิธีการออกแบบ ซึ่งมี 3 วิธี ดังนี้คือ หน่วย : บาท
บทที่ 3 การวิเคราะห์ข่ายงานและควบคุมฯ
PRRT & CPM • PERT : Program Evaluation and Review Technique • CPM : Critical Path Method • ความแตกต่างระหว่าง PERT & CPM • PERT จะใช้กับโครงการที่ยังไม่เคยทำมาก่อน ขณะที่ CPM ใช้กับโครงการที่ทราบเวลาการเสร็จสิ้นที่แน่นอน หรือเคยทำมาก่อนแล้ว
วัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์ข่ายงานวัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์ข่ายงาน • เพื่อช่วยในการวางแผนโครงการ • คำนวณระยะเวลาในการดำเนินงานในแต่ละกิจกรรม • เพื่อช่วยในการควบคุมโครงการ • กิจกรรมใดล่าช้าได้ และกิจกรรมใดล่าช้าไม่ได้ • เพื่อช่วยในการบริหารทรัพยากรที่ใช้ในโครงการ • การควบคุมการใช้ทรัพยากรและการใช้งานให้เกิดประโยชน์มากที่สุด • เพื่อช่วยในการบริหารโครงการ • เพื่อให้โครงการดำเนินไปด้วยความเรียบร้อย
วิธีสร้างข่ายงาน : หลักการเขียนข่ายงาน • สัญลักษณ์ เส้นตรง แสดงทิศทางของความคืบหน้างาน/กิจกรรม วงกลม แสดงเหตุการณ์กำกับด้วยตัวเลข เส้นไข่ปลา แสดงขั้นตอนของเหตุการณ์สมมติ กิจกรรม A เหตุการณ์ 1 เหตุการณ์ 2 1 2
วิธีสร้างข่ายงาน : การใช้ลูกศร • ข้อหลีกเลี่ยง • ลูกศรต้องเป็นเส้นตรงเสมอ เป็นเส้นโค้งไม่ได้ • หลีกเลี่ยงการเขียนลูกศรทับกัน • ตัวเลขในวงกลมต้องเรียงตามลำดับเหตุการณ์ • จุดเริ่มต้นและสิ้นสุดจะต้องมีเพียงจุดเดียวเท่านั้น • ข่ายงานที่เหมาะสมที่จะใช้กิจกรรมสมมติ • หลีกเลี่ยงการใช้กิจกรรมสมมติ
EX I – จงสร้างข่ายงานต่อไปนี้ 1. A และ B เป็นกิจกรรมเริ่มต้นที่ทำไปพร้อมกัน 2. A ต้องทำเสร็จก่อน C 3. B ต้องทำเสร็จก่อน D 4. C,D ต้องทำเสร็จก่อน E
EX II– จงสร้างข่ายงานต่อไปนี้
การวิเคราะห์ข่ายงาน • การหาเวลาเริ่มต้นที่เร็วที่สุด (Earliest Start : ES) – เวลาเร็วที่สุดที่กิจกรรมถัดไปจะเริ่มต้นได้ หลังจากที่กิจกรรมก่อนหน้านี้ได้เสร็จสิ้นหมดทุกกิจกรรม ESj = Maxi[ESi + Dij] เมื่อ ESi = เวลาเริ่มต้นที่เร็วที่สุดของเหตุการณ์ i ESj = เวลาเริ่มต้นที่เร็วที่สุดของเหตุการณ์ j Dij = เวลาในการทำงานจาก i ไป j
การวิเคราะห์ข่ายงาน • การหาเวลาเสร็จงานช้าที่สุด (Latest Completion Time : LT) – เวลาที่ช้าที่สุดที่ยอมให้เหตุการณ์นั้นเกิดขึ้น โดยไม่ทำให้โครงการล่าช้าเมื่อมีการกำหนดเวลาทั้งหมดของโครงการ LTi = Minj[LTj - Dij] เมื่อ LTi = เวลาเสร็จงานช้าที่สุดของเหตุการณ์ i LTj = เวลาเสร็จงานช้าที่สุดของเหตุการณ์ j Dij = เวลาในการทำงานจาก i ไป j
การวิเคราะห์ข่ายงาน • การหาเส้นทางวิกฤติ (Critical Path) – เส้นทางที่เวลาเริ่มต้นเร็วที่สุดและเวลาเสร็จงานช้าที่สุดเท่ากัน นั่นคือกิจกรรมบนเส้นทางวิกฤติจะไม่สามารถล่าช้าได้เลย ES = LT
การวิเคราะห์ข่ายงาน • การหาเวลาสำรองเหลือ 1.) Free Float : FF – เวลาที่กิจกรรมหนึ่งสามารถยืดออกไปได้ โดยไม่กระทบต่อเวลาแล้วเสร็จของโครงการและเวลาเริ่มต้นเร็วที่สุดของกิจกรรมที่อยู่ต่อเนื่องต้องเลื่อนตามไปด้วย 2.) Total Float : TF – เวลาที่กิจกรรมหนึ่งสามารถยืดออกไปได้ โดยไม่กระทบต่อเวลาแล้วเสร็จของโครงการแต่อาจกระทบต่อเวลาเริ่มต้นเร็วที่สุดของกิจกรรมที่อยู่ต่อเนื่อง
สูตรคำนวณเวลาสำรองเหลือสูตรคำนวณเวลาสำรองเหลือ FF = ESj – ESi - Dij TF = LTj – ESi - Dij
EX III 6 3 13 2 10 0 4 B 3 A 13 10 0 5 3 E 1 4 5 5 C 3 5 D 3
การประมาณการเวลา:งานที่ไม่เคยทำ • การหาเวลาประมาณการ(te) a + 4m + b 6 te = เมื่อ a = เวลาอย่างต่ำ m = เวลาปานกลาง b = เวลาสูงสุด
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้นตรง
การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming) • Linear หมายถึง สมการทางคณิตศาสตร์ที่เขียนขึ้นเพื่ออธิบายตัวแปร ซึ่งมีความสัมพันธ์กันในลักษณะเป็นสมการเชิงเส้นตรง • Programming หมายถึง การวางแผน • Linear Programming – ถูกนำมาใช้ในการจัดสรรทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด เช่น การวางแผนด้านการผลิต การลงทุนการตลาด เป็นต้น จึงถือว่าเป็นเครื่องมือสำคัญที่ช่วยในการตัดสินใจแก้ปัญหาทางธุรกิจ
การประยุกต์ใช้ Linear Programming • การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด • การตัดสินใจเกี่ยวกับปริมาณการผลิตสินค้า • การมอบหมายงานให้กับบุคลากร • การตัดสินใจเกี่ยวกับส่วนผสมของวัตถุดิบที่เหมาะสม • การตัดสินใจในการจัดสรรเงินลงทุน • การเลือกสื่อโฆษณา • การตัดสินใจด้านยุทธการ
ขั้นตอนการ Linear Programming วิธีการแก้ปัญหาโดยใช้การโปรแกรมเชิงเส้น แบ่งเป็น 2 ขั้นตอน
การสร้างตัวแบบของปัญหาการสร้างตัวแบบของปัญหา • การสร้างตัวแบบของปัญหา ประกอบด้วย 1.1) การสร้างสมการเป้าหมาย (Objective Function) 1.2) การเขียนข้อจำกัด/เงื่อนไข (Constraints) 1.3) กำหนดให้ตัวแปรทุกตัวไม่ติดลบ (Non Negative Restriction)
การสร้างสมการเป้าหมาย(Objective Function) 1.) การกำหนดตัวแปรการตัดสินใจ 2.) กำหนดสมการเป้าหมาย ซึ่งอยู่ในรูปทั่วไป ดังนี้ Max. Z = C1X1 + C1X1 +…+ CnXn หรือ Min. Z = C1X1 + C1X1 +…+ CnXn เมื่อ Xn = ตัวแปรการตัดสินใจที่ยังไม่ทราบค่า ซึ่งต้องการ หาคำตอบ Cn = ค่าสัมประสิทธิ์ของตัวแปรการตัดสินใจ
การเขียนเงื่อนไข-ข้อจำกัด(Constraints)การเขียนเงื่อนไข-ข้อจำกัด(Constraints) เขียนอยู่ในรูปทั่วไป ดังนี้ a11 X1 + a12 X2 +…+ C1nXn , b1 a21 X1 + a22 X2 +…+ C2nXn , b2 am1 X1 + am2 X2 +…+ CmnXn , bm เมื่อ amn = ค่าสัมประสิทธิ์ของตัวแปรที่ m bm = ข้อจำกัดของเงื่อนไขที่ m . . . . . .
X1, X2, X3,… Xn 0 กำหนดให้ตัวแปรทุกตัวไม่ติดลบ(Non Negative Restriction) การกำหนดว่าตัวแปรทุกตัวจะต้องมีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 0 การสร้างตัวแบบของปัญหา 1.) สมการเป้าหมาย Max. Z = C1X1 + C1X1 +…+ CnXn หรือ Min. Z = C1X1 + C1X1 +…+ CnXn 2.) เงื่อนไข/ข้อจำกัด a11 X1 + a12 X2 +…+ C1nXn , b1 a21 X1 + a22 X2 +…+ C2nXn , b2 am1 X1 + am2 X2 +…+ CmnXn , bm 3.) ตัวแปรไม่ติดลบ X1, X2, X3,… Xn 0
Ex.I - ร้านเฟอร์นิเจอร์แห่งหนึ่ง มีการผลิตโต๊ะและเก้าอี้ ซึ่งมีขั้นตอน 2 ขั้นตอน คือ การประกอบ และการตกแต่ง โดยมีรายละเอียดดังนี้ ในการจำหน่ายโต๊ะกำไร 8 บาท/ตัว กำไรในการจำหน่ายเก้าอี้ 6 บาท/ตัว ร้านแห่งนี้ควรจะผลิตสินค้า 2 ชนิดนี้อย่างไรจึงจะได้กำไรสูงสุด
การแก้ตัวแบบของปัญหา • มี 2 วิธี คือ 1.) วิธีกราฟ (Graph method) 2.) วิธีซิมเพล็ก (Simplex method) เนื่องจากวิธีซิมเพล็กเป็นวิธีการที่ค่อนข้างซับซ้อน(ซึ่งปัจจุบัน มีโปรแกรมสำเร็จรูปที่ใช้หาคำตอบ) ดังนั้นในที่นี้จะขออธิบายเฉพาะ วิธีการแก้ปัญหาด้วยกราฟเท่านั้น
บทที่ 5 ทรัพยากรคงคลัง
นิยามของทรัพยากรคงคลังนิยามของทรัพยากรคงคลัง • หมายถึง ของใด ๆ ที่เก็บไว้ในโกดัง คลังสินค้า หรือสถานที่เก็บสินค้าเพื่อรอการนำไปใช้ สามารถจำแนกออกได้เป็น 4 ประเภท คือ • วัตถุดิบ (Raw Materials) • สินค้าระหว่างการผลิต (Work in Process) • วัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ (Factory Supplies) • สินค้าสำเร็จ (Finish Goods)
หน้าที่ของทรัพยากรคงคลังหน้าที่ของทรัพยากรคงคลัง • ทำให้การผลิตดำเนินไปโดยราบรื่น • มีสินค้าขายได้ตลอดปีแม้การผลิตไม่ต่อเนื่อง • มีสินค้าขายได้ตลอดปี แม้การผลิตเพียงปีละครั้ง • คนงานมีงานทำตลอดปี • เพื่อการเก็งกำไร
ข้อดี/ข้อเสียของทรัพยากรคงคลังข้อดี/ข้อเสียของทรัพยากรคงคลัง
ต้นทุนของทรัพยากรคงคลังต้นทุนของทรัพยากรคงคลัง
ปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด(Economic Order Quantity : EOQ) ต้นทุนสั่งซื้อ = 20 บาท/ครั้ง ความต้องการใช้ = 1,200 ชิ้น/ปี ต้นทุนเก็บรักษาร้อยละ = 12 ของมูลค่าสินค้าคงคลังเฉลี่ย
ปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด(Economic Order Quantity : EOQ) 2KD H Q* = KD Q* Q* 2 TC = H CD + + เมื่อ D = ความต้องการใช้ทั้งปี K = ต้นทุนการสั่งซื้อ (บาท/ครั้ง) H = ต้นทุนการเก็บรักษาต่อหน่วย (บาท/หน่วย) C = ราคาของทรัพยากรคงคลัง (บาท/หน่วย)
ปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุดแบบมีเงื่อนไขปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุดแบบมีเงื่อนไข 2KD (H + iCj) Q* = KD Q* Q* 2 TC = (H +iCj) CjD + + เมื่อ i = ต้นทุนการเก็บรักษา (ร้อยละของมูลค่าทรัพยากรฯ) Cj = ราคาของทรัพยากรคงคลัง เงื่อนไข j (บาท/หน่วย)