1 / 134

บทเรียนสำเร็จรูป

บทเรียนสำเร็จรูป. วิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร เรื่อง สารละลายกรดและเบส. คำนำ.

Download Presentation

บทเรียนสำเร็จรูป

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทเรียนสำเร็จรูป วิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 สาระที่ 3 สารและสมบัติของสารเรื่อง สารละลายกรดและเบส

  2. คำนำ เอกสารประกอบการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร เรื่อง สารละลายกรดและเบส ประกอบด้วย เนื้อหา ภาพประกอบกิจกรรม แบบฝึกหัดและแบบทดสอบที่เหมาะสมกับวัยของผู้เรียนและสอดคล้องกับมาตรฐาน ตัวชี้วัดและจุดประสงค์ของการเรียนรู้ เน้นให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้จากการฝึกทักษะและปฏิบัติได้ด้วยตนเอง ตลอดทั้งยังสามารถศึกษาค้นคว้า แสวงหาความรู้ความเข้าใจและสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันและมีเจตคติที่ดีในการเรียนวิทยาศาสตร์ในระดับสูงขึ้นต่อไป ผู้จัดทำขอขอบคุณผู้ให้คำปรึกษา แนะนำ ตรวจสอบในการจัดทำและเรียบเรียงเอกสารไว้ ณ โอกาสนี้ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารประกอบการเรียนเล่มนี้จะเป็นประโยชน์สำหรับนักเรียน ครูผู้สอนและบุคคลที่สนใจเป็นอย่างดี

  3. สารบัญ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 12 11 10 จุดประสงค์การเรียนรู้ เกม 3 ... เกมเติมคำมหาสนุก คำชี้แจง ตอนที่ 3 pH ของสารละลายกรดและเบส เกม Where is it เกม 4 ... เกม OXเจ้าปัญหา ตอนที่ 1 สมบัติของสารละลายและเบส เกม 5 ... เกมมหาเศรษฐี เกม 2 …เกมแบบ 4 ตัวเลือก แหล่งอ้างอิง ตอนที่ 2 การตรวจสอบความเป็นกรด และเบสของสารละลาย ประวัติผู้จัดทำ

  4. จุดประสงค์การเรียนรู้จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายสมบัติความเป็นกรดและเบสของสารละลาย 2. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างค่าพีเอช (pH) กับสมบัติความเป็นกรดและเบสของสารละลายโดยใช้อินดิเคเตอร์ 3. อธิบายสมบัติของสารละลายกรดและสารละลายเบสที่ใช้ในชีวิตประจำวัน เนื้อหา 1. สมบัติสารละลายกรดและเบส 2. การตรวจสอบความเป็นกรดและเบส 3. pH ของสารละลายกรดและเบส

  5. คำชี้แจงการใช้เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง สารละลายกรดและเบส เอกสารประกอบการเรียนเล่มนี้ ใช้เรียนด้วยความสามารถของนักเรียนเองขอให้อ่านคำแนะนำและทำตามคำชี้แจงแต่ละขั้นตอนตั้งแต่ต้นไปจนจบ นักเรียนจะได้ความรู้อย่างครบถ้วน โดยปฏิบัติตามขั้นตอนต่อไปนี้ 1.อ่านจุดประสงค์การเรียนรู้แล้วนักเรียนจะรู้ว่า เมื่อเรียนจบแล้ว นักเรียนจะมีความรู้และสามารถทาอะไรได้บ้าง 2.ทำแบบทดสอบก่อนเรียนตามความเข้าใจของนักเรียนไปก่อน แม้คำตอบจะผิดบ้างก็ไม่เป็นไร ถ้านักเรียนศึกษาเนื้อหาต่อไป นักเรียนจะตอบได้ถูกต้องในตอนท้าย 3.เอกสารประกอบการเรียนเล่มนี้ จะเสนอเนื้อหาเป็นส่วนย่อยๆ ต่อเนื่องกันนักเรียนจึงไม่ควรเปิดข้ามหน้า เพราะเนื้อหาจะไม่ต่อเนื่องกัน 4. เนื้อหาแต่ละส่วนจะมีแบบฝึกหัดให้นักเรียนทดลองทำ เพื่อตรวจสอบความรู้ความเข้าใจ 5.ถ้าตอบคำถามในแบบฝึกหัดถูกต้อง แสดงว่านักเรียนเข้าใจดีแล้ว ให้ศึกษาเนื้อหาในหน้าต่อไป แต่ถ้าตอบคำถามไม่ถูกต้อง นักเรียนควรจะย้อนกลับไปศึกษาเนื้อหาให้เข้าใจ 6.ทำแบบทดสอบหลังเรียนเพื่อตรวจสอบความรู้ความเข้าใจ หากนักเรียนตอบไม่ถูกต้องเป็นส่วนมาก นักเรียนควรทบทวนเนื้อหาทั้งหมดอีกครั้งเพื่อประโยชน์ต่อตัวนักเรียนเอง 7. นักเรียนควรซื่อสัตย์ต่อตนเอง

  6. เกม Where is it ?

  7. วิธีการเล่น 1.ตัวแทนผู้เรียนมายืนหน้าชั้นและหันหลังให้สไลด์ 2.ผู้เรียนที่เหลือในชั้นช่วยกันใบ้สถานที่ที่นำเสนอบนสไลด์

  8. Where is it ? องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ 00.10 00.09 00.08 00.07 00.06 00.05 00.04 00.03 00.02 00.01 00.00

  9. Where is it ? สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา 00.10 00.09 00.08 00.07 00.06 00.05 00.04 00.03 00.02 00.01 00.00

  10. Where is it ? ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา (ท้องฟ้าจำลอง) กรุงเทพมหานคร 00.10 00.09 00.08 00.07 00.06 00.05 00.04 00.03 00.02 00.01 00.00

  11. Where is it ? น้ำมะนาว 00.10 00.09 00.08 00.07 00.06 00.05 00.04 00.03 00.02 00.01 00.00

  12. Where is it ? เบกกิ้งโซดา (Baking Soda) หรือมีชื่อทางเคมีว่า โซเดียมไบคาร์บอเนต (Sodium Bicarbonate) 00.10 00.09 00.08 00.07 00.06 00.05 00.04 00.03 00.02 00.01 00.00

  13. ตอนที่ 1 สมบัติของสารละลายกรดและเบส สมบัติของสารละลายกรดและเบส จุดประสงค์การเรียนรู้ จัดกลุ่มสาระละลายกรดและเบสโดยใช้สมบัติการเปลี่ยนสีของกระดาษลิตมัสเป็นเกณฑ์ สารละลายกรด คือ สารละลายที่กรดละลายในน้ำ (กรดเป็นตัวละลาย น้ำเป็นตัวทำละลาย)ซึ่งสามารถแตกตัวให้ไฮโดรเจนไอออน(H+) เมื่อละลายน้ำ อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างค่า pH กับสมบัติความเป็นกรด-เบสของสารละลายโดยใช้อินดิเคเตอร์ สมบัติของสารละลายกรด มีดังนี้ 1. มีรสเปรี้ยว เช่น น้ำมะนาว น้ำส้มสายชู วิตามินซี เป็นต้น 2. เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีน้ำเงินเป็นสีแดง ภาพที่ 1 การเปลี่ยนสีของกระดาษลิตมัส ที่มา : http://www.lks.ac.th/student/kroo_su/chem22/life.htm อธิบายวิธีปรับค่าความเป็นกรดและเบสของสารละลายโดยการเติมสารที่มีสมบัติตรงข้าม

  14. ตอนที่ 1 สมบัติของสารละลายกรดและเบส สมบัติของสารละลายกรดและเบส จุดประสงค์การเรียนรู้ จัดกลุ่มสาระละลายกรดและเบสโดยใช้สมบัติการเปลี่ยนสีของกระดาษลิตมัสเป็นเกณฑ์ 3. ทำปฏิกิริยากับโลหะ ยกเว้น ทองคำ เงิน ทองคำขาว ทำให้โลหะผุกร่อนและได้แก๊สไฮโดรเจน(H2) เช่น ปฏิกิริยาของโลหะสังกะสีกับกรดเกลือ จะได้ เกลือซิงค์คลอไรด์และแก๊สไฮโดรเจน ดังสมการ Zn + HCl ZnCl2 + H2 ดังนั้น โลหะ + กรด เกลือ + แก๊สไฮโดรเจน อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างค่า pH กับสมบัติความเป็นกรด-เบสของสารละลายโดยใช้อินดิเคเตอร์ อธิบายวิธีปรับค่าความเป็นกรดและเบสของสารละลายโดยการเติมสารที่มีสมบัติตรงข้าม 4. ทำปฏิกิริยากับสารประกอบคาร์บอเนต (XCO3 : X คือธาตุโลหะใดๆ) เช่นหินปูน โซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตหรือผงฟูได้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ เช่น ปฏิกิริยาของหินปูนกับกรดเกลือ จะได้แคลเซียมคลอไรด์ น้ำและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ดังสมการ CaCO3 + 2HCl CaCl2 + H2O + CO2 ดังนั้น คาร์บอเนต + กรด เกลือ + น้ำ + คาร์บอนไออกไซด์

  15. ตอนที่ 1 สมบัติของสารละลายกรดและเบส สมบัติของสารละลายกรดและเบส จุดประสงค์การเรียนรู้ 5. สารละลายกรดสามารถนำไฟฟ้าได้ จัดกลุ่มสาระละลายกรดและเบสโดยใช้สมบัติการเปลี่ยนสีของกระดาษลิตมัสเป็นเกณฑ์ 6. ทำปฏิกิริยากับเบสได้เกลือและน้ำเรียกปฏิกิริยานี้ ว่า ปฏิกิริยาสะเทินเช่น ปฏิกิริยาของกรดเกลือกับโซเดียมไฮดรอกไซด์ ได้โซเดียมคลอไรด์และน้ำ ดังสมการ HCl + Na NaCl + H2O ดังนั้น กรด + เบส เกลือ + น้ำ อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างค่า pH กับสมบัติความเป็นกรด-เบสของสารละลายโดยใช้อินดิเคเตอร์ ประเภทของกรด กรดแบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ 1. กรดอินทรีย์ เป็นกรดที่ได้จากสิ่งมีชีวิต เช่น พืชและจุลินทรีย์หรือจากการสังเคราะห์ เช่น HCOOH กรดฟอร์มิกหรือกรดมด เป็นกรดที่อยู่ในมด เช่น มดแดง ,CH3COOH กรดแอซีติกหรือกรดน้ำส้มได้จากการหมักแป้งหรือน้ำตาลโดยใช้จุลินทรีย์ เช่น น้ำส้มสายชู อธิบายวิธีปรับค่าความเป็นกรดและเบสของสารละลายโดยการเติมสารที่มีสมบัติตรงข้าม ภาพที่ 2 กรดอินทรีย์ ที่มา : http://nutoonina.tripod.com/01.htm

  16. ตอนที่ 1 สมบัติของสารละลายกรดและเบส สมบัติของสารละลายกรดและเบส จุดประสงค์การเรียนรู้ 2. กรดอนินทรีย์หรือกรดแร่ธาตุเป็นกรดที่เกิดจากแร่ธาตุไม่ได้มาจากสิ่งมีชีวิต ดังนั้นอาจการกัดกร่อนจึงสูงกว่ากรดอินทรีย์และบางชนิดก็เป็นกรดแก่ซึ่งมีอำนาจการกัดกร่อนสูง เช่น -H2SO4กรดซัลฟิวริกหรือกรดกามะถัน เช่น ผงซักฟอก แบตเตอรี่รถยนต์ ปุ๋ย -HCl กรดไฮโดรคลอริกหรือกรดเกลือ เช่น น้ำยาล้างห้องน้ำ -H2CO3กรดคาร์บอนิก เช่น น้ำโซดา น้ำอัดลม จัดกลุ่มสาระละลายกรดและเบสโดยใช้สมบัติการเปลี่ยนสีของกระดาษลิตมัสเป็นเกณฑ์ อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างค่า pH กับสมบัติความเป็นกรด-เบสของสารละลายโดยใช้อินดิเคเตอร์ อธิบายวิธีปรับค่าความเป็นกรดและเบสของสารละลายโดยการเติมสารที่มีสมบัติตรงข้าม ภาพที่ 3 ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ที่มีความเป็นกรด ที่มา : http://www.codsana.com/ad-4d4d1d93e216a7b36d02c82b.html

  17. www,378700000.com ตอนที่ 1 สมบัติของสารละลายกรดและเบส สารละลายเบส - ทำปฏิกิริยากับกรด ได้เกลือและน้ำ ดังสมการ HCl + KOH KCl + H2O • - มีรสฝาด ขม • มีสมบัติลื่นมือ เช่น สบู่ ผงซักฟอก • สารละลายเบสนำไฟฟ้าได้ - ทำปฏิกิริยากับโลหะบางชนิด เช่น อะลูมิเนียม(Al) และสังกะสี(Zn) จะได้แก๊สไฮโดรเจน(H2) - เปลี่ยนสีของกระดาษลิตมัสจากสีแดงเป็นสีน้ำเงิน - ทำปฏิกิริยากับเกลือแอมโมเนีย (NH4Y : Y = ธาตุโลหะ) -ผสมกับน้ำมันหรือไขมันจะได้สบู่และกลีเซอรอล เรียกปฏิกิริยานี้ว่า “ปฏิกิริยาการเกิดสบู่(saponificationreaction)”

  18. เกมที่ 2 ...“เกมแบบ 4 ตัวเลือก”

  19. วิธีการเล่น ให้ผู้เรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียง 1 ข้อ !

  20. จงตอบคำถามต่อไปนี้ 1. ข้อใดต่อไปนี้เป็นสมบัติของกรด 1. มีรสเปรี้ยว 2. ทำปฏิกิริยากับโลหะเกิดแก๊ส 3. ทำปฏิกิริยากับหินปูนเกิดแก๊สและหินปูนสึกกร่อน 4. เปลี่ยนสีสารละลายฟีนอล์ฟทาลีนจากไม่มีสีเป็นสีชมพู ข้อที่ถูกที่สุดคือ 1, 2, 3 1, 2, 4 ข. ก. 1, 3, 4 2, 3, 4 ง. ค.

  21. ถูกต้องค่ะ ... คุณเก่งมาก  ถัดไป

  22. ยังไม่ถูกต้องค่ะ ... พยายามอีกนิดนะค่ะ ย้อนกลับ

  23. จงตอบคำถามต่อไปนี้ 2.อินดิเคเตอร์เป็นสารที่ใช้บอกเกี่ยวกับเรื่องใด การเปลี่ยนสีของสารละลาย ความสามารถในการละลาย ก. ข. ความเป็นกรด-เบสของสารละลาย ความสามารถในการนำไฟฟ้า ค. ง.

  24. ถูกต้องค่ะ ... คุณเก่งมาก  ถัดไป

  25. ยังไม่ถูกต้องค่ะ ... พยายามอีกนิดนะค่ะ ย้อนกลับ

  26. จงตอบคำถามต่อไปนี้ 3.ข้อใดบอกค่า pH ได้ถูกต้อง พีเอชมิเตอร์ กระดาษลิตมัส ก. ข. สารละลายฟีนล์ฟทาลีน ยูนิเวอร์ซัลอินดิเคเตอร์ ค. ง.

  27. ถูกต้องค่ะ ... คุณเก่งมาก  ถัดไป

  28. ยังไม่ถูกต้องค่ะ ... พยายามอีกนิดนะค่ะ ย้อนกลับ

  29. จงตอบคำถามต่อไปนี้ 4. ข้อใดอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างค่า pH กับระดับความเป็นกรดได้ถูกต้องที่สุด กรดแกมีค่า pH มากกว่ากรดอ่อน กรดอ่อนมีค่า pH น้อย ข. ก. สารละลายกรดมีค่า pH เท่ากับ7 ค. สารละลายกรดมีค่า pH มากกว่า 7 ง.

  30. ถูกต้องค่ะ ... คุณเก่งมาก  ถัดไป

  31. ยังไม่ถูกต้องค่ะ ... พยายามอีกนิดนะค่ะ ย้อนกลับ

  32. จงตอบคำถามต่อไปนี้ 5. นำสารละลาย X มาใส่บีกเกอร์2 ใบ เท่าๆ กัน แล้วทดลองดังนี้ ใบที่ 1 เติมกรดลงไปจะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองใบที่ 2 เติมเบสลงไปจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำเงินสารละลาย X คือสารละลายใด น้ำบริสุทธิ์ สารละลายกรด ก. ข. สารละลายเบส สารละลายอินดิเคเตอร์ ค. ง.

  33. ถูกต้องค่ะ ... คุณเก่งมาก  ถัดไป

  34. ยังไม่ถูกต้องค่ะ ... พยายามอีกนิดนะค่ะ ย้อนกลับ

  35. จงตอบคำถามต่อไปนี้ 6. ฝนกรดที่มักเกิดในเมืองใหญ่ๆ เกิดจากการมีแก๊สใดในบรรยากาศมาก คาร์บอนไดออกไซด์และคาร์บอนมอนอกไซด์ ก. ซัลเฟอร์ไดออกไซด์และไนโตรเจนไดออกไซด์ ข. ซัลเฟอร์ไดออกไซด์และคาร์บอนไดออกไซด์ ค. สารละลายอินดิเคเตอร์ ง.

  36. ถูกต้องค่ะ ... คุณเก่งมาก  ถัดไป

  37. ยังไม่ถูกต้องค่ะ ... พยายามอีกนิดนะค่ะ ย้อนกลับ

  38. จงตอบคำถามต่อไปนี้ 7. กรด-เบส ที่ใช้อยู่ในชีวิตประจาวันส่วนใหญ่เป็นสารพวกใด สารเนื้อเดียวประเภทคอลลอยด์ ก. สารเนื้อเดียวประเภทสารละลาย ข. สารเนื้อเดียวประเภทสารบริสุทธิ์ ค. สารเนื้อผสมประเภทสารแขวนลอย ง.

  39. ถูกต้องค่ะ ... คุณเก่งมาก  ถัดไป

  40. ยังไม่ถูกต้องค่ะ ... พยายามอีกนิดนะค่ะ ย้อนกลับ

  41. จงตอบคำถามต่อไปนี้ 8. ถ้าต้องการทราบว่า กรดในขวด A หรือในขวด B เป็นกรดจากพืชหรือไม่ ต้องใช้สารใดทดสอบ น้ำปูนใส สารละลายฟีนอล์ฟทาลีน ก. ข. สารละลายเจนเชียนไวโอเลต กระดาษลิตมัสสีแดงและสีน้ำเงิน ค. ง.

  42. ถูกต้องค่ะ ... คุณเก่งมาก  ถัดไป

  43. ยังไม่ถูกต้องค่ะ ... พยายามอีกนิดนะค่ะ ย้อนกลับ

  44. จงตอบคำถามต่อไปนี้ 9. ข้อใดต่อไปนี้เป็นสมบัติของเบส 1. มีรสฝาด 2. มีค่า pH ต่ำกว่า 7 3. เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสสีแดงเป็นสีน้ำเงิน 4. เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสสีน้ำเงินเป็นสีแดง 5. ทำให้อินดิเคเตอร์ฟีนอล์ฟทาลีนเป็นสีชมพู 1,2,3 1,3,5 ข. ก. 1,4,5 ค. 1,2,3,5 ง.

  45. ถูกต้องค่ะ ... คุณเก่งมาก  ถัดไป

  46. ยังไม่ถูกต้องค่ะ ... พยายามอีกนิดนะค่ะ ย้อนกลับ

  47. จงตอบคำถามต่อไปนี้ 10. เมื่อหยดเมทิลเรดลงในสารละลาย B จะให้สีเหลือง สารละลาย B มี pH เท่าใด และมีสมบัติอย่างไร น้อยกว่า 4.2 เป็นกรด 6.3 เป็นกลางและเบส ก. ข. มากกว่า 6.3 เป็นกรด กลางหรือเบสก็ได้ 4.2 – 6.3 เป็นกรดและกลาง ค. ง.

  48. ถูกต้องค่ะ ... คุณเก่งมาก  ถัดไป

  49. ยังไม่ถูกต้องค่ะ ... พยายามอีกนิดนะค่ะ ย้อนกลับ

  50. ตอนที่ 2 การตรวจสอบความเป็นกรดและเบสของสารละลาย การตรวจสอบความเป็นกรดและเบส จุดประสงค์การเรียนรู้ การตรวจสอบความเป็นกรดและเบสของสารละลายสามารถตรวจสอบได้ด้วยอินดิเคเตอร์ซึ่งเป็นสารที่ใช้บอกสมบัติบางอย่างในปฏิกิริยาเคมีโดยการเปลี่ยนสีหรือการเปลี่ยนแปลงสมบัติบางอย่างที่มองเห็นได้สารที่นำมาใช้ในการตรวจสอบความเป็นกรดและเบสของสารละลายต่างๆ เรียกว่า " อินดิเคเตอร์สาหรับกรด-เบส (acid-base indicator)" ทดสอบความเป็นกรดและเบสของสารละลายโดยใช้อินดิเคเตอร์ บอกความหมายของอินดิเคเตอร์สำหรับกรดและเบสพร้อมทั้งยกตัวอย่าง อินดิเคเตอร์ (indicator) คือ สารที่ใช้ตรวจสอบไฮโดรเนียมไอออน (H3O+) และไฮดรอกไซด์ไอออน (OH- )ได้ เนื่องจากสารละลายที่ เป็นกรดจะมีความเข้มข้นของไฮโดรเนียมไอออนมากกว่าสารละลาย ที่เป็นเบส เช่น HNO3 + H2O H3O+ + NO3 NH3 + H2O NH4+ + OH-

More Related