360 likes | 570 Views
นโยบายการแก้ไขปัญหาผู้หลบหนีเข้าเมืองทั้งระบบ และปัจจัยที่เชื่อมโยงต่อการจัดระเบียบทางทะเบียนราษฎรของ ปค. วันอังคารที่ 20 พฤษภาคม 2557. สำนักยุทธศาสตร์ความมั่นคงภายในประเทศ สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ. ประเด็นสาระสำคัญ. ที่มา / กรอบแนวคิดการแก้ปัญหาผู้หลบหนีเข้าเมืองทั้งระบบ
E N D
นโยบายการแก้ไขปัญหาผู้หลบหนีเข้าเมืองทั้งระบบนโยบายการแก้ไขปัญหาผู้หลบหนีเข้าเมืองทั้งระบบ และปัจจัยที่เชื่อมโยงต่อการจัดระเบียบทางทะเบียนราษฎรของ ปค. วันอังคารที่ 20 พฤษภาคม 2557 สำนักยุทธศาสตร์ความมั่นคงภายในประเทศ สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ
ประเด็นสาระสำคัญ • ที่มา/กรอบแนวคิดการแก้ปัญหาผู้หลบหนีเข้าเมืองทั้งระบบ • โครงสร้าง/องค์ประกอบของยุทธศาสตร์รองรับการแก้ปัญหาในระยะต่อไป • บทบาท/ภารกิจของ มท. และ ปค. ภายใต้การดำเนินงานร่วมกับส่วนราชการที่เกี่ยวข้องตามยุทธศาสตร์ใหม่ • ผลกระทบภายหลังการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนอย่างสมบูรณ์ ในปี 2558 สำนักยุทธศาสตร์ความมั่นคงภายในประเทศ สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ
ชนกลุ่มน้อย/กลุ่มชาติพันธุ์/ผู้หลบหนีเข้าเมืองชนกลุ่มน้อย/กลุ่มชาติพันธุ์/ผู้หลบหนีเข้าเมือง ที่อพยพเข้ามาอาศัยอยู่ในไทย ประเภทที่ 3 มีปัญหาความมั่นคงและทางราชการมีนโยบายดูแล เป็นการเฉพาะ (ไม่ต่ำกว่า 2.1 ล้านคน) ประเภทที่ 1 ชนกลุ่มน้อยกลุ่มชาติพันธุ์ที่ ครม.มีมติรับรองสถานะให้อยู่อาศัยอย่างถาวร (5.6 แสน) ประเภทที่ 2 ชนกลุ่มน้อย กลุ่มชาติพันธุ์ ที่ได้รับการผ่อนผันให้อยู่ชั่วคราว เพื่อรอการแก้ไขปัญหา (1.2 แสนคน) ประเภทที่ 4 กลุ่มหลบหนีเข้าเมืองอื่น ๆ กรณีทั่วไป (เช่น กลุ่มที่ไม่มาต่อวีซ่า ) แรงงานต่างด้าว หลบหนีเข้าเมือง 3 สัญชาติในระบบผ่อนผัน ผู้หนีภัยการสู้รบจากพม่า โรฮิงยา , เกาหลีเหนือ • ยุทธศาสตร์การบริหาร แรงงานต่างด้าวทั้งระบบ (มติ ครม. 2 มี.ค. 47) • มาตรการแก้ไขปัญหาแรงงานต่างด้าวหลบหนี เข้าเมืองทั้งระบบ 26 เม.ย. 54กบร./รง. เป็นฝ่ายเลขานุการ นโยบาย/มาตรการเฉพาะ สภา มช. /สมช. • ยุทธศาสตร์การจัดการปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคล (มติ ครม. 18 ม.ค. 48) • หลักเกณฑ์การกำหนดสถานะ18 กลุ่ม ยกเว้นมอแกน (มติ ครม. 7 ธ.ค. 53) • นอส./สมช. เป็นฝ่ายเลขานุการ ปราบปรามจับกุมตาม พ.ร.บ.คนเข้าเมือง พ.ศ.2522 ตร. (โดย สตม.) สำนักยุทธศาสตร์ความมั่นคงภายในประเทศ สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์แก้ปัญหาผู้หลบหนีเข้าเมืองทั้งระบบ (มติ ครม. 24 เม.ย. 55) ยุทธศาสตร์ที่ 1 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ยุทธศาสตร์การป้องกัน การลักลอบหลบหนีเข้ามาใหม่ ยุทธศาสตร์การจัดการปัญหาผู้หลบหนีเข้าเมืองที่อยู่ในประเทศไทย 4 ยุทธศาสตร์ย่อย ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตร์ที่ 4 ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา ผู้หลบหนีเข้าเมือง ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการ สำนักยุทธศาสตร์ความมั่นคงภายในประเทศ สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ
Click to edit title style ยุทธศาสตร์ที่ 1 ยุทธศาสตร์การจัดการปัญหาผู้หลบหนีเข้าเมืองที่อยู่ในประเทศไทย ครอบคลุม 4 กลุ่มเป้าหมายหลัก 1.ชนกลุ่มน้อย/ กลุ่มชาติพันธุ์ 2.แรงงานผิดกม. 3 สัญชาติ กลุ่มเป้าหมายผู้หลบหนีเข้าเมือง ที่อยู่ในประเทศไทย 3.กลุ่มที่มีปัญหาความมั่นคงเฉพาะ 4.ผู้หลบหนีเข้าเมืองอื่นๆ สำนักยุทธศาสตร์ความมั่นคงภายในประเทศ สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์ที่ 1ยุทธศาสตร์การจัดการปัญหาผู้หลบหนีเข้าเมืองที่อยู่ในประเทศไทย Click to edit title style • กลุ่มที่อพยพเข้ามานานและ กลับประเทศต้นทางไม่ได้ ซึ่งได้สำรวจจัดทำทะเบียนประวัติเป็นฐานข้อมูลไว้แล้วตั้งแต่อดีตจนถึงล่าสุดในปี 2554 • จำนวนประมาณ 5 แสนคน • ที่ผ่านมา ยุทธศาสตร์ การจัดการปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคล (มติ ครม.18 ม.ค. 48)/ หลัก เกณฑ์การกำหนดสถานะฯ (มติ ครม. 7 ธ.ค.53) • ความมุ่งหมาย เพื่อเร่งรัดกำหนดสถานภาพตามกฎหมายและดูแลสิทธิขั้นพื้นฐานอย่างเหมาะสม • อยู่มานานจนกลมกลืนกับสังคมไทยและไม่สร้างผลกระทบต่อความมั่นคง หน่วยงานหลัก กระทรวงมหาดไทย สำนักยุทธศาสตร์ความมั่นคงภายในประเทศ สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์ที่ 1ยุทธศาสตร์การจัดการปัญหาผู้หลบหนีเข้าเมืองที่อยู่ในประเทศไทย Click to edit title style • 2. แรงงานต่างด้าวหลบหนีเข้าเมือง 3 สัญชาติ (พม่า ลาว และกัมพูชา) รวมถึงผู้ติดตาม/บุตรที่ได้รับการผ่อนผันไว้เดิมและที่จดทะเบียนใหม่ล่าสุดตาม มติ ครม. 26 เมษายน 2554 • จำนวนประมาณ 2 ล้านคน • การดำเนินการที่ผ่านมา ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวทั้งระบบ (มติ ครม. 2 มี.ค.47) และอื่นๆ • แนวทางระยะสั้น จัดระเบียบแรงงานเพื่อการจ้างที่ถูกกฎหมาย โดยมีการคุ้มครองสิทธิขั้นพื้นฐานอย่างเหมาะสม • แนวทางระยะยาว กำหนดทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจและการผลิตกำลังแรงงานที่สอดคล้องกับโครงสร้างประชากร หน่วยงานหลัก กระทรวงแรงงาน สำนักยุทธศาสตร์ความมั่นคงภายในประเทศ สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์ที่ 1ยุทธศาสตร์การจัดการปัญหาผู้หลบหนีเข้าเมืองที่อยู่ในประเทศไทย Click to edit title style 3. กลุ่มที่มีนโยบายเฉพาะ ได้แก่ ผู้หนีภัยการ สู้รบจากพม่า ผู้หลบหนีเข้าเมืองชาวโรฮิงยา ชาวเกาหลีเหนือ • แนวทางระยะยาว • มาตรการ • การควบคุมทั่วไป • และการควบคุม • เป็นการเฉพาะ • ดำเนินการส่งกลับ • ประเทศต้นทาง • อย่างปลอดภัย • หากประเทศต้นทาง • ปฏิเสธที่จะรับกลับ • จะส่งไปประเทศที่สาม • แล้วแต่กรณี หน่วยงานหลัก สมช. สำนักยุทธศาสตร์ความมั่นคงภายในประเทศ สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์ที่ 1ยุทธศาสตร์การจัดการปัญหาผู้หลบหนีเข้าเมืองที่อยู่ในประเทศไทย Click to edit title style 4. กลุ่มผู้หลบหนีเข้าเมืองอื่นๆ อาทิ ผู้ที่เข้ามาอย่างถูกกฎหมายแต่ไม่เดินทางกลับภายในระยะเวลาที่กำหนด • แนวทางระยะยาว • ดำเนินการตาม • กฎหมายคนเข้าเมือง • อย่างจริงจัง • พัฒนาระบบ • สารสนเทศการตรวจ • คนเข้าเมืองให้ทันสมัย • และเชื่อมโยงระหว่าง • หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • ติดตาม/เฝ้าระวัง • บุคคลจากประเทศที่ • สามที่อาจขอรับวีซ่า • เข้าไทยผิดประเภท/ • อยู่เกินกำหนด หน่วยงานหลัก ตร. สำนักยุทธศาสตร์ความมั่นคงภายในประเทศ สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์ที่ 2 ยุทธศาสตร์การป้องกันการลักลอบหลบหนีเข้ามาใหม่ • กลุ่มเป้าหมาย : กลุ่มที่จะลักลอบเข้ามาใหม่ • หน่วยงานหลัก : กองทัพไทย • หน่วยงานร่วม : ตร. / มท. / พม. / กต. / กอ.รมน. / รง. 1. เพิ่มความเข้มงวดในการป้องกันและสกัดกั้นการลักลอบเข้าเมือง พัฒนาระบบสารสนเทศการตรวจคนเข้าเมืองให้ทันสมัย เชื่อมโยงทุกด่าน และสามารถติดตามตรวจสอบตัวบุคคลและการเดินทางได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. บังคับใช้กฎหมายอย่างจริงจังกับผู้หลบหนีเข้าเมืองที่ลักลอบเข้ามาใหม่ นายจ้าง ผู้ประกอบการ ผู้ให้ที่พักพิง รวมทั้งขบวนการนำพา ขบวนการค้ามนุษย์ และเจ้าหน้าที่ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง สำนักยุทธศาสตร์ความมั่นคงภายในประเทศ สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์ที่ 2 ยุทธศาสตร์การป้องกันการลักลอบหลบหนีเข้ามาใหม่ (ต่อ) 3. พิจารณาทบทวนและปรับปรุงกฎหมายให้มีบทลงโทษที่ชัดเจน ทันสมัย เพื่อเป็นการป้องกันและป้องปรามการกระทำผิด และลดการใช้ดุลยพินิจของเจ้าหน้าที่ 4. เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายที่เกี่ยวข้องต่อทุกภาคส่วน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ต่อเจ้าหน้าที่รัฐที่เกี่ยวข้อง 5. จัดทำแนวทางในการจัดเก็บข้อมูลประวัติบุคคล พร้อมลายพิมพ์นิ้วมือ และรูปถ่ายของผู้หลบหนีเข้าเมือง (ข้อมูลชีวภาพ) เพื่อตรวจสอบการกลับเข้ามาใหม่และดำเนินการตามกฎหมาย โดยให้สามารถแลกเปลี่ยน เชื่อมโยงฐานข้อมูลระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ รวมถึงการปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบันตามห้วงเวลา สำนักยุทธศาสตร์ความมั่นคงภายในประเทศ สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์ที่ 2 ยุทธศาสตร์การป้องกันการลักลอบหลบหนีเข้ามาใหม่ (ต่อ) 6. พัฒนาระบบการเข้า-ออกบริเวณชายแดนโดยเฉพาะการใช้บัตรผ่านแดน (Border pass) หรือเอกสารผ่านแดนอื่น ๆ เพื่อให้สามารถติดตามตรวจสอบตัวบุคคลและตรวจสอบการเดินทางกลับได้อย่างชัดเจน 7. ส่งเสริมและสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชนและภาคประชาสังคมในพื้นที่ชายแดนและชายฝั่งทะเลในการร่วมมือกับภาครัฐ เพื่อป้องกันและสกัดกั้นการลักลอบเข้าเมือง สำนักยุทธศาสตร์ความมั่นคงภายในประเทศ สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์ที่ 3ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อป้องกันและแก้ปัญหาผู้หลบหนีเข้าเมือง • หน่วยงานหลัก : กต. • หน่วยงานร่วม : กองทัพไทย / มท./ สศช./ สมช./ กอ.รมน./ สขช./ ศรภ./ บช.ส./ รง./ พม./ สธ. 1. ประสานความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้าน ผ่านกลไกระดับต่าง ๆ ที่มีอยู่ ทั้งในระดับทวิภาคี และพหุภาคี 2. ส่งเสริมความสัมพันธ์ ความร่วมมือด้านการข่าว และการประสานงานระหว่างเจ้าหน้าที่ระดับท้องถิ่น 3. ส่งเสริมความร่วมมือในการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และทรัพยากรมนุษย์ของประเทศเพื่อนบ้านอย่างต่อเนื่อง โดยร่วมมือกับองค์กรระหว่างประเทศ กลุ่มประเทศอาเซียน และประชาคมโลก 4. ชี้แจงและสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องแก่นานาประเทศ เพื่อไม่ให้เกิดผลลบต่อภาพลักษณ์ของไทย สำนักยุทธศาสตร์ความมั่นคงภายในประเทศ สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์ที่ 4ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการ • เป็นการจัดตั้งกลไกองค์กรบริหารจัดการรองรับการดำเนินการตามยุทธศาสตร์ ฯ ทั้งในระดับนโยบายและปฏิบัติ • ครอบคลุมและเชื่อมโยงกับส่วนราชการที่มีภารกิจด้านผู้หลบหนีเข้าเมือง หลายหน่วยงาน • กำหนดระยะเวลาดำเนินการดังนี้ • ระยะเร่งด่วน จัดตั้งกลไกบริหารจัดการในระดับนโยบายและปฏิบัติ • ระยะต่อไป กำหนดนโยบายรองรับการโยกย้ายถิ่นฐานและการเคลื่อนย้ายประชากร เพื่อเป็นกรอบในการบริหารจัดการปัญหาและผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากการเข้าเป็นประชาคมอาเซียนในปี 2558 สำนักยุทธศาสตร์ความมั่นคงภายในประเทศ สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ
สายการบังคับบัญชา สายการประสานงาน แผนภูมิ 1 โครงสร้างองค์กรบริหารจัดการ จัดการ คณะกรรมการอำนวยการบริหารยุทธศาสตร์แก้ปัญหาผู้หลบหนีเข้าเมืองทั้งระบบ (กอ.ปร.) (นรม.) (เลขาธิการ สมช.) สำนักงานเลขานุการ กอ.ปร. (สอ.ปร.) (เลขาธิการ สมช.) (รองเลขาธิการ สมช.) รายงานผล ทุก 6 เดือน กอ.รมน. คณะกรรมการบริหารการแก้ปัญหาสถานะและ สิทธิของบุคคล (ปลัด มท.) (อธิบดีกรมการปกครอง) คณะกรรมการบริหารการแก้ปัญหา ผู้หลบหนีเข้าเมืองกลุ่มเฉพาะ (เลขาธิการ สมช.) (รองเลขาธิการ สมช.) คณะกรรมการบริหารแรงงาน ต่างด้าวหลบหนีเข้าเมือง (ปลัด รง.) (อธิบดีกรมการจัดหางาน) คณะกรรมการบริหารฐานข้อมูลคนเข้าเมือง (ผบ.ตร.) (ผบ.สตม.) กอ.รมน. ภาค 1-4 คณะกรรมการบริหารฐานข้อมูล ผู้หลบหนีเข้าเมือง (ปลัด มท.) (อธิบดีกรมการปกครอง) ศูนย์สารสนเทศ แรงงานต่างด้าว (รง.) ศูนย์สารสนเทศ ผู้หลบหนีเข้าเมือง (มท.) ศูนย์ประสานงานแก้ปัญหาผู้หลบหนี เข้าเมือง ระดับกอ.รมน. ภาค 1-4 ศูนย์สารสนเทศ คนเข้าเมือง (สตม.) ศูนย์สารสนเทศ ข้อมูลสุขภาพแรงงานต่างด้าว (สธ.) สำนักยุทธศาสตร์ความมั่นคงภายในประเทศ สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ
ครม./สภา มช. คณะกรรมการอำนวยการบริหารยุทธศาสตร์แก้ปัญหาผู้หลบหนีเข้าเมืองทั้งระบบ (กอ.ปร.) (นรม.) (เลขาธิการ สมช.) แผนภูมิ 2 การแปลงยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ สายการบังคับบัญชา สายการประสานงาน รายงานผล ทุก 6 เดือน กอ.รมน. สำนักงานเลขานุการ กอ.ปร. (สอ.ปร.) (เลขาธิการ สมช.) ศูนย์สารสนเทศ ผู้หลบหนีเข้าเมือง (มท.) คณะกรรมการบริหารการแก้ปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคล (ปลัด มท.) (อธิบดีกรมการปกครอง) ศูนย์สารสนเทศ แรงงานต่างด้าว (รง.) คณะกรรมการบริหารฐานข้อมูล ผู้หลบหนีเข้าเมือง (ปลัด มท.) (อธิบดีกรมการปกครอง) ศูนย์ประสานงานแก้ปัญหาผู้หลบหนีเข้าเมือง ระดับ กอ.รมน. ภาค 1-4 กระทรวง/หน่วยงานส่วนกลางที่เกี่ยวข้อง กอ.รมน. ภาค 1-4 ศูนย์สารสนเทศข้อมูลสุขภาพแรงงานต่างด้าว (สธ.) คณะกรรมการบริหารแรงงานต่างด้าว หลบหนีเข้าเมือง (ปลัด รง.) (อธิบดีกรมการจัดหางาน) หน่วยงานระดับภูมิภาค กอ.รมน.จว./กอ.รมน.กทม. ศูนย์สารสนเทศ คนเข้าเมือง (สตม.) คณะกรรมการบริหารการแก้ปัญหา ผู้หลบหนีเข้าเมืองกลุ่มเฉพาะ (เลขาธิการ สมช.) (รองเลขาธิการ สมช.) หน่วยงานระดับ จว./กทม. หน่วยงานระดับท้องถิ่น คณะกรรมการบริหารฐานข้อมูลคนเข้าเมือง (ผบ.ตร.) (ผบ.สตม.) กลไกการประสานการปฏิบัติ และรายงานผล กลไกระดับนโยบายและยุทธศาสตร์ กลไกระดับปฏิบัติการ สำนักยุทธศาสตร์ความมั่นคงภายในประเทศ สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ
ขั้นตอนการดำเนินการ การทบทวนยุทธศาสตร์ ระยะเปลี่ยนผ่าน ให้ กอ.รมน.ประสานการปฏิบัติและติดตามประเมินผลทุก 6 เดือน เพื่อนำไปสู่การทบทวนยุทธศาสตร์ ทุก 2 ปี • มติ คกก.ประสานงานของ สภา มช. เมื่อ 22 พ.ค. 2555 เห็นชอบให้แต่งตั้งคณะอนุกรรมการเฉพาะกิจพิจารณายกร่างระเบียบ นร. รองรับการดำเนินการตามยุทธศาสตร์ฯ (แต่งตั้งคณะกรรมการระดับนโยบาย รวมทั้งกลไกที่เกี่ยวข้องทุกระดับ) • สมช. เสนอ ครม. เห็นชอบร่างระเบียบฯ (สนง.คกก.กฤษฎีกา ตรวจสอบรายละเอียด) ครม.มีมติเห็นชอบเมื่อ 24 เม.ย. 2555 ให้ส่วนราชการดำเนินการตามแผนเดิมไปพลางก่อน จนกว่าการจัดตั้งกลไกบริหารจัดการทุกระดับ จะแล้วเสร็จ และมีแผนรองรับชัดเจน สำนักยุทธศาสตร์ความมั่นคงภายในประเทศ สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ
ร่างระเบียบ นร. ว่าด้วยการบริหารยุทธศาสตร์ฯ พ.ศ. .... (มติ คกก.ประสานงานของ สภา มช. 22 พ.ค. 2555) ** อยู่ระหว่างรอเสนอ ครม. ชุดใหม่พิจารณา ** • ส่วนอารัมภบท อธิบายเหตุผลความจำเป็นของการมีระเบียบฯ (สถานการณ์ปัญหา ผู้หลบหนีเข้าเมืองและประเด็นปัญหาการบริหารจัดการที่ผ่านมา) ข้อ 1กำหนดชื่อระเบียบฯ ข้อ 2กำหนดระยะเวลาใช้บังคับระเบียบฯ (พ้นกำหนด 60 วัน นับแต่วันในประกาศราชกิจจานุเบกษา) ข้อ 3ยกเลิกระเบียบ นร. ว่าด้วยการบริหารแรงงานต่างด้าวหลบหนีเข้าเมือง พ.ศ. 2544 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 4 กำหนดคำนิยามที่ใช้ในระเบียบฯ ข้อ 5 ให้ นรม. เป็นผู้รักษาการตามระเบียบฯ สำนักยุทธศาสตร์ความมั่นคงภายในประเทศ สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ
การจัดตั้งองค์กรบริหารจัดการรองรับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ฯการจัดตั้งองค์กรบริหารจัดการรองรับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ฯ • หมวด 1การจัดตั้ง คกก. อำนวยการบริหารยุทธศาสตร์ฯ (กอ.ปร.) เป็นกลไกหลักขับเคลื่อนการดำเนินการตามยุทธศาสตร์ฯ (ข้อ 6 - 10) องค์ประกอบ : 1. ประธานนรม. 2. รองประธาน รอง นรม. ซึ่ง นรม. มอบหมาย 3. กรรมการปลัดกระทรวงที่เกี่ยวข้อง (กห. กค. กต. พม. มท. ยธ. รง. ศธ. สธ.) / หน.ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง (ผบ.ทหารสูงสุด ผบ.ทบ. ผบ.ทร. ผบ.ทอ. ผบ.ตร. ผอ.สงป. ลธ.กอ.รมน. ลธ.สศช.) / ผู้ทรงคุณวุฒิซึ่ง นรม. แต่งตั้ง (ไม่เกิน 5 คน) 4. กรรมการและเลขานุการ เลขาธิการ สมช. (ผช.เลขานุการ 3 คน) สำนักยุทธศาสตร์ความมั่นคงภายในประเทศ สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ
การจัดตั้งองค์กรบริหารจัดการรองรับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ฯการจัดตั้งองค์กรบริหารจัดการรองรับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ฯ • หมวด 1การจัดตั้ง คกก. อำนวยการบริหารยุทธศาสตร์ฯ (กอ.ปร.) เป็นกลไกหลักขับเคลื่อนการดำเนินการตามยุทธศาสตร์ฯ (ข้อ 6 - 10) อำนาจหน้าที่หลัก : 1. พิจารณากำหนดนโยบาย มาตรการ แนวทางการบริหารจัดการผู้หลบหนีเข้าเมืองทุกกลุ่มภายใต้ยุทธศาสตร์ฯ 2. อำนวยการ กำกับดูแล ติดตามการดำเนินการตามยุทธศาสตร์ฯ และรายงานผลต่อ ครม. 3. พิจารณาให้ความเห็นชอบแผนงาน โครงการ และมาตรการที่เกี่ยวข้องตามที่ คกก. ช่วยปฏิบัติงานเสนอ 4. พิจารณาเสนอแนะแนวทางการปรับปรุงยุทธศาสตร์ฯ ต่อ สภา มช. และ ครม. สำนักยุทธศาสตร์ความมั่นคงภายในประเทศ สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ
การจัดตั้งองค์กรบริหารจัดการรองรับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ฯการจัดตั้งองค์กรบริหารจัดการรองรับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ฯ • หมวด 2การจัดตั้ง สนง. เลขานุการ คกก. อำนวยการบริหารยุทธศาสตร์ฯ (สอ.ปร.) เป็นฝ่ายเลขานุการของ กอ.ปร. (ข้อ 11 - 13) สถานภาพ : เป็นหน่วยงานภายใน สมช. มีเลขาธิการ สมช. เป็นผู้อำนวยการ รองเลขาธิการ สมช. ที่ได้รับมอบหมายเป็นรองผู้อำนวยการ อำนาจหน้าที่หลัก : 1. อำนวยการและประสานการปฏิบัติเพื่อให้การดำเนินการตามยุทธศาสตร์ฯ ของส่วนราชการที่เกี่ยวข้องเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 2. ประสานการดำเนินการของ กอ.ปร. และ คกก. ช่วยปฏิบัติงานตามยุทธศาสตร์ฯ 3. ประสานขอรับทราบข้อมูลและข้อเท็จจริงจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องเพื่อประกอบการพิจารณาของ กอ.ปร. สำนักยุทธศาสตร์ความมั่นคงภายในประเทศ สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ
การจัดตั้งองค์กรบริหารจัดการรองรับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ฯการจัดตั้งองค์กรบริหารจัดการรองรับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ฯ • หมวด 3การจัดตั้ง คกก. ช่วยปฏิบัติงานตามยุทธศาสตร์ฯ (ข้อ 14 - 27) 1. คกก. บริหารการแก้ปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคล 2. คกก. บริหารแรงงานต่างด้าวหลบหนีเข้าเมือง 3. คกก. บริหารการแก้ปัญหาผู้หลบหนีเข้าเมืองกลุ่มเฉพาะ 4. คกก. บริหารฐานข้อมูลผู้หลบหนีเข้าเมือง 5. คกก. บริหารฐานข้อมูลคนเข้าเมือง สำนักยุทธศาสตร์ความมั่นคงภายในประเทศ สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ
การจัดตั้งองค์กรบริหารจัดการรองรับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ฯการจัดตั้งองค์กรบริหารจัดการรองรับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ฯ • คกก. บริหารการแก้ปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคล (มท.) องค์ประกอบ : 1. ประธานปลัด มท. 2. กรรมการปลัดกระทรวงที่เกี่ยวข้อง (กต. พม. คค. ยธ. รง. ศธ. สธ.) / หน.ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง (ผบ.ตร. ลธ.กอ.รมน. ลธ.กสม. เลขาธิการ สมช.) / ผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งประธานแต่งตั้ง (ไม่เกิน3 คน) 3. กรรมการและเลขานุการอธิบดี ปค. (ผช.เลขานุการ 2 คน) สำนักยุทธศาสตร์ความมั่นคงภายในประเทศ สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ
การจัดตั้งองค์กรบริหารจัดการรองรับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ฯการจัดตั้งองค์กรบริหารจัดการรองรับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ฯ • คกก. บริหารการแก้ปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคล (มท.) อำนาจหน้าที่หลัก : 1. เสนอแนะนโยบาย ยุทธศาสตร์ และมาตรการดำเนินการแก้ปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคลต่อ กอ.ปร. 2. พิจารณากลั่นกรองแผนงาน โครงการ งบประมาณ และมาตรการที่เกี่ยวข้องในการแก้ปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคล 3. อำนวยการ ประสานงาน กำกับดูแล และติดตามผลการดำเนินการแก้ไขปัญหาสถานะบุคคล รวมถึงการกำหนดสิทธิขั้นพื้นฐานให้แก่กลุ่มเป้าหมายภายใต้หลักเกณฑ์และมติ ครม. ที่เกี่ยวข้อง 4. พิจารณาทบทวน ปรับปรุง และพัฒนาหลักเกณฑ์การกำหนดสถานะและสิทธิของบุคคลให้เหมาะสมสอดคล้องกับสถานการณ์ก่อนเสนอ กอ.ปร. พิจารณา สำนักยุทธศาสตร์ความมั่นคงภายในประเทศ สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ
การจัดตั้งองค์กรบริหารจัดการรองรับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ฯการจัดตั้งองค์กรบริหารจัดการรองรับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ฯ • คกก. บริหารแรงงานต่างด้าวหลบหนีเข้าเมือง (รง.) องค์ประกอบ : 1. ประธานปลัด รง. 2. กรรมการปลัดกระทรวงที่เกี่ยวข้อง (กห. กต. กษ. มท. ยธ. ศธ. สธ. อต.) /หน.ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง (ผบ.ทหารสูงสุด ลธ.กอ.รมน. ลธ.สศช. เลขาธิการ สมช. ผบ.ตร. ผบ.ตม. ผอ.สงป. อธิบดี ปชส.) / ผู้ทรงคุณวุฒิซึ่ง ประธานแต่งตั้ง (ไม่เกิน3 คน) 3. กรรมการและเลขานุการอธิบดีกรมการจัดหางาน (ผช.เลขานุการ 2 คน) สำนักยุทธศาสตร์ความมั่นคงภายในประเทศ สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ
การจัดตั้งองค์กรบริหารจัดการรองรับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ฯการจัดตั้งองค์กรบริหารจัดการรองรับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ฯ • คกก. บริหารแรงงานต่างด้าวหลบหนีเข้าเมือง (รง.) อำนาจหน้าที่หลัก : 1. เสนอแนะนโยบาย ยุทธศาสตร์ และมาตรการในการบริหารจัดการและแก้ปัญหาการจ้างแรงงาน ต่างด้าวหลบหนีเข้าเมือง 3 สัญชาติ (พม่า ลาว กัมพูชา) และแรงงานต่างด้าวหลบหนีเข้าเมืองสัญชาติ อื่นๆ ต่อ กอ.ปร. 2. พิจารณกลั่นกรองแผนงาน โครงการ งบประมาณ และมาตรการที่เกี่ยวข้องในการบริหารจัดการ และแก้ปัญหาการจ้างแรงงานต่างด้าวหลบหนีเข้าเมืองที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย 3. อำนวยการ ประสานงาน กำกับดูแล และติดตามผลการบริหารจัดการและการแก้ปัญหาการจ้างแรงงานต่างด้าวหลบหนีเข้าเมืองที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย 4. พิจารณาทบทวน ปรับปรุง และพัฒนาหลักเกณฑ์ในการบริหารจัดการและแก้ปัญหาการจ้าง แรงงานต่างด้าวหลบหนีเข้าเมืองที่เป็นกลุ่มเป้าหมายให้เหมาะสมสอดคล้องกับสถานการณ์ก่อนเสนอ กอ.ปร. พิจารณา สำนักยุทธศาสตร์ความมั่นคงภายในประเทศ สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ
การจัดตั้งองค์กรบริหารจัดการรองรับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ฯการจัดตั้งองค์กรบริหารจัดการรองรับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ฯ • คกก. บริหารการแก้ปัญหาผู้หลบหนีเข้าเมืองกลุ่มเฉพาะ (สมช.) องค์ประกอบ : 1. ประธานเลขาธิการ สมช. 2. กรรมการปลัดกระทรวงที่เกี่ยวข้อง (กห. กต. มท. ศธ. สธ.) / หน.ส่วนราชการ ที่เกี่ยวข้อง (ผบ.ทหารสูงสุด ผบ.ทบ. ผบ.ทร. ผบ.ตร. ผอ.สศช. ผอ.สงป. ลธ.กอ.รมน. ผบ.ศรภ. ผบ.ตม.) / ผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งประธานแต่งตั้ง (ไม่เกิน3 คน) 3. กรรมการและเลขานุการรองเลขาธิการ สมช. ที่ได้รับมอบหมาย (ผช.เลขานุการ 2 คน) สำนักยุทธศาสตร์ความมั่นคงภายในประเทศ สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ
การจัดตั้งองค์กรบริหารจัดการรองรับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ฯการจัดตั้งองค์กรบริหารจัดการรองรับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ฯ • คกก. บริหารการแก้ปัญหาผู้หลบหนีเข้าเมืองกลุ่มเฉพาะ (สมช.) อำนาจหน้าที่หลัก : 1. เสนอแนะนโยบาย ยุทธศาสตร์ และมาตรการดำเนินการแก้ปัญหาผู้หลบหนี เข้าเมืองกลุ่มเฉพาะ (ผู้หนีภัยการสู้รบจากพม่า โรฮิงยา เกาหลีเหนือ) ต่อ กอ.ปร. 2. พิจารณากลั่นกรองแผนงาน โครงการ งบประมาณ และมาตรการที่เกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหาผู้หลบหนีเข้าเมืองกลุ่มเฉพาะ 3. อำนวยการ ประสานงาน กำกับดูแล และติดตามผลการดำเนินการตามยุทธศาสตร์ฯ ของส่วนราชการที่เกี่ยวข้องในการแก้ปัญหาผู้หลบหนีเข้าเมืองกลุ่มเฉพาะ สำนักยุทธศาสตร์ความมั่นคงภายในประเทศ สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ
การจัดตั้งองค์กรบริหารจัดการรองรับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ฯการจัดตั้งองค์กรบริหารจัดการรองรับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ฯ • คกก. บริหารฐานข้อมูลผู้หลบหนีเข้าเมือง (มท.) องค์ประกอบ : 1. ประธานปลัด มท. 2. กรรมการปลัดกระทรวงที่เกี่ยวข้อง (ICT ศธ. สธ.) / หน.ส่วนราชการ ที่เกี่ยวข้อง (ผบ.ตร. ลธ.กอ.รมน. เลขาธิการ สมช. ผบ.ตม. ผอ.สนง.สถิติ แห่งชาติ อธิบดีกรมการจัดหางาน) / ผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งประธานแต่งตั้ง (ไม่เกิน3 คน) 3. กรรมการและเลขานุการอธิบดีกรมการปกครอง (ผช.เลขานุการ 3คน) สำนักยุทธศาสตร์ความมั่นคงภายในประเทศ สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ
การจัดตั้งองค์กรบริหารจัดการรองรับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ฯการจัดตั้งองค์กรบริหารจัดการรองรับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ฯ • คกก. บริหารฐานข้อมูลผู้หลบหนีเข้าเมือง (มท.) อำนาจหน้าที่หลัก : 1. พิจารณาจัดทำและพัฒนาระบบฐานข้อมูลผู้หลบหนีเข้าเมืองทุกกลุ่มที่เกี่ยวข้องภายใต้ยุทธศาสตร์ฯ 2. ประสาน สนับสนุน กำกับดูแลการใช้ประโยชน์ และการเชื่อมโยงฐานข้อมูลของศูนย์สารสนเทศและศูนย์ประสานงานแก้ปัญหาผู้หลบหนีเข้าเมืองในระดับพื้นที่ให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย รวดเร็ว 3. ศึกษา พัฒนา และปรับปรุงฐานข้อมูลผู้หลบหนีเข้าเมือง และกลไกบริหารจัดการที่รับผิดชอบให้สามารถสนับสนุนส่วนราชการที่เกี่ยวข้องอย่างมีประสิทธิภาพ สำนักยุทธศาสตร์ความมั่นคงภายในประเทศ สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ
การจัดตั้งองค์กรบริหารจัดการรองรับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ฯการจัดตั้งองค์กรบริหารจัดการรองรับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ฯ • คกก. บริหารฐานข้อมูลคนเข้าเมือง (สตช.) องค์ประกอบ : 1. ประธานผบ.ตร. 2. กรรมการปลัดกระทรวงที่เกี่ยวข้อง (กต. มท. รง. สธ. การท่องเที่ยวฯ ICT) / หน.ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง (ลธ.กอ.รมน. เลขาธิการ สมช. ผอ.สขช. ผอ.สนง. สถิติแห่งชาติ ผบ.สนง.ยุทธศาสตร์ ตร.) / ผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งประธานแต่งตั้ง (ไม่ เกิน 3 คน) 3. กรรมการและเลขานุการผบ.ตม. (ผช.เลขานุการ 2 คน) สำนักยุทธศาสตร์ความมั่นคงภายในประเทศ สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ
การจัดตั้งองค์กรบริหารจัดการรองรับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ฯการจัดตั้งองค์กรบริหารจัดการรองรับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ฯ • คกก. บริหารฐานข้อมูลคนเข้าเมือง (สตช.) อำนาจหน้าที่หลัก : 1. พิจารณาจัดทำและพัฒนาระบบฐานข้อมูลคนเข้าเมือง 2. ประสาน สนับสนุน กำกับดูแลการใช้ประโยชน์ และการเชื่อมโยงฐานข้อมูลของศูนย์สารสนเทศและศูนย์ประสานงานแก้ปัญหาผู้หลบหนีเข้าเมืองในระดับพื้นที่ให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย รวดเร็ว 3. ศึกษา พัฒนา และปรับปรุงฐานข้อมูลคนเข้าเมือง และกลไกบริหารจัดการที่รับผิดชอบให้สามารถสนับสนุนส่วนราชการที่เกี่ยวข้องอย่างมีประสิทธิภาพ สำนักยุทธศาสตร์ความมั่นคงภายในประเทศ สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ
การจัดตั้งองค์กรบริหารจัดการรองรับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ฯการจัดตั้งองค์กรบริหารจัดการรองรับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ฯ • หมวด 4บทเฉพาะกาล ข้อ 28 ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการตามกลไกที่มีอยู่เดิมตามระเบียบและคำสั่งที่เกี่ยวข้อง ตามยุทธศาสตร์การจัดการปัญหาสถานะและสิทธิของบุคคล ยุทธศาสตร์การบริหารแรงงานต่างด้าวทั้งระบบ รวมถึงมติ ครม. ที่เกี่ยวข้องไปพลางก่อน จนกว่าระเบียบนี้จะมีผลใช้บังคับ สำนักยุทธศาสตร์ความมั่นคงภายในประเทศ สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ
ทิศทาง/แนวโน้มสถานการณ์ปัญหาภายหลังการเข้าสู่ทิศทาง/แนวโน้มสถานการณ์ปัญหาภายหลังการเข้าสู่ การเป็นประชาคมอาเซียนอย่างสมบูรณ์ในปี 2558 • การอพยพโยกย้ายถิ่นฐานแบบไม่ปกติมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น กลุ่มแรงงานต่างด้าวหลบหนีเข้าเมือง กลุ่มปัญหาพิเศษ (โรฮิงยา เกาหลีเหนือ และอื่นๆ ที่มีสาเหตุเนื่องมาจากความขัดแย้ง ในประเทศต้นทาง รวมทั้งที่ตกเป็นเหยื่อขบวนการค้ามนุษย์) • อุปสรรค/ข้อจำกัดในการแก้ปัญหาร่วมกันของประชาคมอาเซียน ความแตกต่างด้านมาตรฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร (ข้อเสนอให้มีการสร้างระบบฐานข้อมูลประชากรอาเซียนร่วมกัน) ความแตกต่างด้านกฎหมายและระเบียบว่าด้วยการเข้า-ออกเมือง (ข้อเสนอให้มีการใช้ Visa อาเซียนร่วมกันเช่นเดียวกับระบบเชงเก้นของสหภาพยุโรป) สำนักยุทธศาสตร์ความมั่นคงภายในประเทศ สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ
ข้อสังเกต ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ สำนักยุทธศาสตร์ความมั่นคงภายในประเทศ สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ