1 / 15

S B M

S B M. School Based Management. แนวคิดสำคัญในการจัดการศึกษาไทย.

cricket
Download Presentation

S B M

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. S B M • School Based Management

  2. แนวคิดสำคัญในการจัดการศึกษาไทยแนวคิดสำคัญในการจัดการศึกษาไทย การบริการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (School Based Management, Site Base Management)เป็นการกระจายอำนาจการจัดการศึกษาจากส่วนกลาง ให้โรงเรียนมีอำนาจ มีอิสระและคล่องตัวที่จะตัดสินใจในการบริหารจัดการเกี่ยวกับการบริหารโรงเรียนทั้งด้านหลักสูตร งบประมาณ บุคลากร และการบริหารทั่วไป โดยมีคณะกรรมการโรงเรียน ประกอบด้วย ผู้บริหารโรงเรียน ตัวแทนครู ตัวแทนนักเรียน ตัวแทนผู้ปกครอง และชุมชนร่วมกันบริหารโรงเรียนให้สอดคล้อง และเป็นไปตามความต้องการของนักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนมากที่สุด

  3. หลักการของการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นมาตรฐานหลักการของการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นมาตรฐาน • กระจายอำนาจ • บริหารตนเอง • บริหารแบบมีส่วนร่วม • บริหารโดยมีภาวะผู้นำแบบเกื้อหนุน • พัฒนาทั้งระบบ • บริหารโปร่งใสตรวจสอบได้

  4. การบริหารงานโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานการบริหารงานโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ควรคำนึงถึงหลักธรรมาภิบาล (Good Governance) 6 ประการ มาประกอบด้วย ซึ่งจะช่วยให้การบริหารบรรลุผลสำเร็จ ได้แก่ • หลักนิติธรรม • หลักคุณธรรม • หลักความรับผิดชอบ • หลักความโปร่งใส • หลักการมีส่วนร่วม • หลักความคุ้มค่า

  5. ลักษณะสำคัญของโรงเรียนที่บริหารแบบ SBM • วิสัยทัศน์ พันธกิจของโรงเรียนชัดเจน บุคลากรมีส่วนร่วมกำหนด และรับรู้ • บริหารโรงเรียนตามหลัก SBM คือ - การกระจายอำนาจ - การบริหารตนเอง - การมีส่วนร่วม - การพึ่งตนเอง - การประสานงาน - หลักความต่อเนื่อง และหลากหลาย - หลักการตรวจสอบและถ่วงดุล ฯลฯ

  6. ลักษณะสำคัญของโรงเรียนที่บริหารแบบ SBM 3. หลักการบริหารโดยใช้ภาวะผู้นำแบบเกื้อหนุน อำนวยความสะดวก การตัดสินใจ ใช้หลักการกระจายอำนาจ • ให้หลักการพัฒนาทั้งระบบ (Whole School Approach) • เทคนิคการบริหารจัดการ ใช้วิธีบริหารเชิงกลยุทธ์ เน้นผลงาน แก้ปัญหาได้ทันการ ระดมใช้ทรัพยากรบุคคลภูมิปัญญาท้องถิ่น • บทบาทผู้บริหาร เป็นผู้กระตุ้น และประสานงานให้บุคลากรร่วมมือกันปฏิบัติงาน และเป็นผู้พัฒนาทรัพยากร

  7. ลักษณะสำคัญของโรงเรียนที่บริหารแบบ SBM • บทบาทครู เป็นผู้ร่วมงาน ผู้ร่วมตัดสินใจ ผู้ริเริ่ม และเป็นผู้ปฏิบัติ • บทบาทผู้ปกครอง ชุมชน มีส่วนร่วม สนับสนุนโรงเรียนเสนอแนะแนวทาง แก้ปัญหา • บรรยากาศการทำงาน เน้นทำงานเป็นทีม ให้ความร่วมมือและเคารพ ฉันทามติ • การประเมินผล ต้องประเมินทั้งระบบ ทั้ง Input, Process และ Output

  8. การนำ SBM ไปสู่การปฏิบัติ 1. สร้างความตระหนักในการมีส่วนร่วมเป็นเจ้าของสถานศึกษา ได้แก่ ผู้บริหาร ครู นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน 2. พัฒนาบุคลากร ให้ความรู้แก่ครู และผู้เกี่ยวข้อง 3. ร่วมกันวิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา กำหนดวิสัยทัศน์ เป้าหมาย ผลผลิตทางการศึกษา ผลสัมฤทธิ์ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์

  9. การนำ SBM ไปสู่การปฏิบัติ 4. การดำเนินงาน โดยยึดหลักการบริหารวงจร PDCA ประกอบด้วย 4.1 การร่วมกันวางแผน (Plan) 4.2 การร่วมกันปฏิบัติตามแผน (Do) 4.3 การร่วมกันตรวจสอบ (Check) 4.4 การร่วมกันปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่อง (Action)

  10. เทคนิคเฉพาะ ยุทธศาสตร์สู่ความสำเร็จ 1. พัฒนาวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย วิธีดำเนินการ ของสถานศึกษาอย่างชัดเจน 2. จัดตั้งทีมงานที่มีคุณภาพหลากหลาย 3. พัฒนาบุคลากรให้เป็นมืออาชีพ

  11. เทคนิคเฉพาะ ยุทธศาสตร์สู่ความสำเร็จ 4. พัฒนาระบบข่าวสารข้อมูล 5. สร้างแรงจูงใจ ให้เกียรติยกย่องครู 6. ยกย่องผู้บริหารที่เป็นมืออาชีพ 7. มีการประชาสัมพันธ์ที่ดี

  12. เงื่อนไขการนำ SBM ไปสู่ความสำเร็จ • ผู้บริหารเป็นผู้นำทางวิชาการ • ผู้บริหาร ครู คณะกรรมการโรงเรียนเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตน • มีการกระจายอำนาจอย่างแท้จริงในการบริหารงบประมาณ บุคลากร และหลักสูตร • เน้นการพัฒนาวิชาชีพให้บุคลากรในโรงเรียน และคุณภาพการจัดการเรียนการสอนเป็นหลักสำคัญ

  13. เงื่อนไขการนำ SBM ไปสู่ความสำเร็จ • สร้างความรู้ ความเข้าใจโดยการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ • ใช้ระบบคุณธรรม โปร่งใสในการให้รางวัล • เน้นผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน โดยการประเมินผลตามสภาพจริง • สร้างเครือข่ายผู้ปกครอง ศิษย์เก่าและชุมชน

  14. ประโยชน์ของการบริหารแบบ SBM 1. สามารถตอบสนองความต้องการของโรงเรียน นักเรียนและท้องถิ่นได้ดีขึ้น 2. สามารถระดมผู้มีประสบการณ์มาช่วยเหลือได้มากขึ้นในรูปของคณะกรรมการ 3. ครูมีขวัญกำลังใจดีขึ้น ได้มีโอกาสคิดเอง ทำเอง และแสดงออก 4. เกิดความรู้สึกเป็นเจ้าของ จากการร่วมตัดสินใจ

  15. ประโยชน์ของการบริหารแบบ SBM 5. สร้างผู้นำใหม่ในทุกระดับ 6. เพิ่มการติดต่อสื่อสาร 7. ประหยัดการใช้งบประมาณ 8. มีความโปร่งใส ตรวจสอบได้ 9. เกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 10. แก้ปัญหาความขัดแย้งได้ดี เพราะครูมีโอกาสได้แสดงความคิดเห็น

More Related