160 likes | 495 Views
“น้ำท่วม ตอผุด” ถอดรหัสการจัดการอุทกภัย. ผศ. ดร. ทวิดา กมลเวชช. องค์ประกอบที่สำคัญ. นโยบายแบบ บูรณา การ แผนการปฏิบัติการและขั้นตอนการปฏิบัติงาน(เดี่ยวและร่วม) หลักการในการบริหารจัดการภาวะวิกฤติ การวิเคราะห์ความเสี่ยง ระบบการควบคุมและการสั่งการ ระบบการแลกเปลี่ยนข้อมูลและการสื่อสาร
E N D
“น้ำท่วม ตอผุด” ถอดรหัสการจัดการอุทกภัย ผศ. ดร. ทวิดา กมลเวชช
องค์ประกอบที่สำคัญ • นโยบายแบบบูรณาการ • แผนการปฏิบัติการและขั้นตอนการปฏิบัติงาน(เดี่ยวและร่วม) • หลักการในการบริหารจัดการภาวะวิกฤติ • การวิเคราะห์ความเสี่ยง • ระบบการควบคุมและการสั่งการ • ระบบการแลกเปลี่ยนข้อมูลและการสื่อสาร • การบริหารจัดการสื่อ • การฝึกซ้อมทุกรูปแบบ
การใช้หลักการจัดการภัยพิบัติกับลักษณะพิเศษของภัยการใช้หลักการจัดการภัยพิบัติกับลักษณะพิเศษของภัย หลักการจัดการภัยพิบัติ • ความครบถ้วน • คาดการณ์ล่วงหน้า • ขับเคลื่อนด้วยความเสี่ยง • บูรณาการ (เอกภาพการประสานงาน) • ประสานสอดคล้อง • ร่วมแรงร่วมใจ • ความเป็นมืออาชีพ • ยืดหยุ่น ลักษณะพิเศษของภัย ภัยเกิดได้จากหลายสาเหตุ คู่แฝดของภัยหลัก ระดับความอ่อนไหวของชุมชน ไร้ขอบเขตพื้นที่ทางรัฐศาสตร์ ไม่มีความแน่นอน แปรเปลี่ยนเสมอ ไม่เป็นเส้นตรง โกลาหลวุ่นวาย ภัยพิบัติเป็นการเมือง
Likelihood Risk 1 Risk 2 Risk 3 Consequences
1 การวิเคราะห์ประโยชน์ นำไปปฏิบัติ ประเมิน สินทรัพย์ ทดสอบ& ประเมิน ตัดสินใจ เรื่องการบริหาร ความเสี่ยง 2 ประเมิน ความเสี่ยง 4 5 ประเมิน ภัยคุกคาม กำหนด ทางเลือก มาตรการตอบโต้ 3 ประเมิน จุดอ่อน ติดตามสอดส่อง การวิเคราะห์ค่าใช้จ่าย การบริหารความเสี่ยงโดยย่อ Antiterrorism Program, American University under Department of State, USA.
ผลกระทบจากเหตุการณ์ที่ไม่ต้องการผลกระทบจากเหตุการณ์ที่ไม่ต้องการ สินทรัพย์ ความเสี่ยง ภัยคุกคาม โอกาสการเกิดเหตุการณ์ที่ไม่ต้องการ จุดอ่อน สูตรความเสี่ยง ผลกระทบ x (ภัยคุกคาม x จุดอ่อน) = ความเสี่ยง Impact x (Threat x Vulnerability) = Risk Antiterrorism Program, American University under Department of State, USA.
ระบบการปรับตัวในภาวะที่ซับซ้อนระบบการปรับตัวในภาวะที่ซับซ้อน Axelrod และ Cohen สำรวจวงจรของระบบการปรับตัวในภาวะที่ซับซ้อน (CAS) และเสนอว่าสามารถที่จะทำให้เกิดผลลพธ์ที่เป็นประโยชน์ต่อผู้กำหนดนโยบายและผู้บริหารได้ ในการใช้ประโยชน์จากความซับซ้อน ในสภาพแวดล้อมที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและยากที่จะคาดการณ์ได้ ไม่ว่าจะเป็นการให้ความสนใจต่อรูปแบบของความผันผวนในสถานการณ์ที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และการประมวลผลกระทบจากการกำหนดการปฏิสัมพันธ์ในและระหว่างองค์การ และการเลือกและสนับสนุนปัจเจกชน คณะทำงาน ระบบ หรือยุทธศาสตร์ที่มีสมรรถนะที่สุดที่มีอยู่
มิติทางด้านสังคมและเทคนิคของการจัดการภัยพิบัติมิติทางด้านสังคมและเทคนิคของการจัดการภัยพิบัติ องค์ประกอบดังกล่าวประกอบด้วย 3 มิติ คือ 1) มิติทางด้านความยืดหยุ่นองค์การ (Organizational Flexibility) 2) มิติทางด้านของโครงสร้างพื้นฐานทางเทคนิค (TechnicalInfrastructure) 3) มิติทางด้านการเปิดกว้างทางวัฒนธรรม (Cultural Openness)
ยืดหยุ่นต่อสถานการณ์ • การบังคับใช้กฏหมายและระเบียบต่างๆ • การปรับรายละเอียดของแผนการบูรณาการให้กำกับโดยอำนาจหน้าที่ที่ชัดเจนมากขึ้น • การแก้ระเบียบการเงินในการเตรียมพร้อม • การใช้การประสานงานคู่ขนานทั้งแบบทางการและไม่เป็นทางการอย่างเป็นระบบ • การจัดตั้ง Single Command Unit ซ้อนกับโครงสร้างเดิมต้องใช้ความระมัดระวังอย่างสูงทั้งต่อสถานะ โครงสร้าง พันธกิจหลักในยามปรกติและฉุกเฉิน
โครงสร้างในความไม่เป็นโครงสร้างโครงสร้างในความไม่เป็นโครงสร้าง • การบังคับใช้และการตรวจสอบความปลอดภัย • การวิเคราะห์ความเสี่ยงรายพื้นที่ โดยใช้มิติความน่าจะเป็นของการเกิดภัย มิติความอ่อนไหวต่อภัย และมิติความเสียหาย เพื่อจัดลำดับความเสี่ยงและความเร่งด่วนต่อการออกแบบมาตรการ และใช้แผน • การใช้ระบบช่วยการตัดสินใจและการเตือนภัยในรูปแบบ End-to-End และระบบฐานข้อมูลเครื่องจักร เครื่องมือ และข้อมูลระบบสังคม • การจัดรูปแบบศูนย์อพยพแบบในพื้นที่เสี่ยง • การจัดระบบและการจัดการ logistic ทั้งระบบหลักและสำรอง • การสร้างช่องทางสื่อสารและการเลือกสารที่เป็นมืออาชีพ
วัฒนธรรมเปิดแบบรัฐไทยวัฒนธรรมเปิดแบบรัฐไทย Christopher ได้เสนอในบทความของเขาไว้ว่า รูปแบบค่านิยมในการจัดการภาครัฐนั้น แบ่งออกเป็น 3 แบบ คือ • Sigma-type คือ การจัดการภาครัฐที่นิยมประสิทธิภาพ ทันเวลา กระทัดรัด เน้นผลงานและคุณภาพ โดยวัดความสำเร็จในการจัดการด้วยตัวเงินและเวลาเป็นสำคัญ • Theta-type คือ การจัดการภาครัฐที่นิยมความยุติธรรม เสมอภาคเท่าเทียม และส่วนรวม เน้นกระบวนการและสมดุลของการใช้ทรัพยากร วัดความสำเร็จที่ความเชื่อมั่นของพลเมือง • Lambda-type คือ การจัดการภาครัฐที่นิยมการสร้างความแข็งแกร่งทนทาน สามารถฟื้นคืนจากอุปสรรค และเชื่อถือได้ เน้นความสามารถในการปรับตัว การสร้างระบบสำรอง วัดความสำเร็จที่ศักยภาพต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงและรับมือกับสิ่งคุกคามหรือความหายนะต่างๆ
วัฒนธรรมเปิดแบบไทยไทยวัฒนธรรมเปิดแบบไทยไทย • ไม่คิดว่าจะเป็นแบบนี้ • เตือนแล้วไม่เกิดไม่ได้ เตือนแล้วเป็นอย่างที่เตือน • ไม่ละถิ่นฐาน ไม่สามารถเข้าใจการย้ายถิ่น • ระเบียบวินัยและค่านิยมส่วนรวมร่วมกัน • จิตอาสาและจิตสาธารณะ • เครือข่ายชุมชนฟื้นคืนจากภัย • การสร้างความสามารถในการช่วยเหลือตนเอง • การสร้างเสริมกลไกการเชื่อมกระบวนงานของท้องถิ่น • การวางบทบาทนักการเมือง และบทบาทการเมือง