1 / 18

หลักเกณฑ์และแนวทาง ตร.

หัวข้อในการพูดคุย 1. การแต่งตั้งข้าราชการตำรวจ ระดับ รอง สว. – ผบ.หมู่ วาระประจำปี 2555 2. การจัดข้าราชการตำรวจ ปฏิบัติหน้าที่รักษาความสงบที่เลือกตั้งผู้ว่ากรุงเทพมหานคร. หลักเกณฑ์และแนวทาง ตร. ** ตร. มีบันทึกสั่งการ ลง 17 ม.ค. 56 สั่งการให้พิจารณาแต่งตั้ง

Download Presentation

หลักเกณฑ์และแนวทาง ตร.

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หัวข้อในการพูดคุย1. การแต่งตั้งข้าราชการตำรวจ ระดับ รอง สว. – ผบ.หมู่ วาระประจำปี 25552. การจัดข้าราชการตำรวจ ปฏิบัติหน้าที่รักษาความสงบที่เลือกตั้งผู้ว่ากรุงเทพมหานคร

  2. หลักเกณฑ์และแนวทาง ตร. ** ตร.มีบันทึกสั่งการ ลง 17 ม.ค. 56 สั่งการให้พิจารณาแต่งตั้ง ข้าราชการตำรวจระดับ รอง สว. และ ผบ.หมู่ วาระประจำปี 2555 ** พร้อมออกคำสั่งตั้งแต่ 26 ก.พ. 56 เป็นต้นไป ** มีผลทั้งนี้ตั้งแต่ 5 มี.ค. 56 เป็นต้นไป

  3. 1. มีคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งครบถ้วนตามตำแหน่งที่จะแต่งตั้ง 2. มีระยะเวลาดำรงตำแหน่งครั้งสุดท้าย ไม่น้อยกว่า 2 ปี (นับวัน ชนวัน) (เว้นแต่ได้รับอนุมัติจาก ผบ.ตร.) 3. ไม่ติดเงื่อนไขท้ายคำสั่งบรรจุและแต่งตั้ง 4. มีเจตนารมณ์ให้ได้รับการแต่งตั้งกลับภูมิลำเนาหรือตามที่ร้องขอให้มากที่สุดแต่ต้องไม่กระทบต่อภารกิจของหน่วย 5. อนุมัติยกเว้นหลักเกณฑ์การแต่งตั้ง ของข้าราชการตำรวจที่ได้รับการแต่งตั้ง วาระประจำปี 2553 และ ด.ต. 53 ปี รุ่น 1 (ตามข้อ 2) หลักเกณฑ์การแต่งตั้งที่ ตร. กำหนด

  4. แนวทางการดำเนินการของ บช.น.ในวาระการแต่งตั้ง รอง สว. – ผบ.หมู่ วาระประจำปี 2555 • กรณีหมุนเวียนใน บช.น. • ต้องไม่ขัดต่อระเบียบ หรือหลักเกณฑ์ที่ ตร. กำหนด เช่น • ดำรงตำแหน่งครบ 2 ปี • ไม่ติดเงื่อนไขท้ายคำสั่งบรรจุ • แต่งตั้งข้าราชการตำรวจที่ลาศึกษาให้เข้าสู่ตำแหน่งที่กันไว้ • แต่งตั้งข้าราชการตำรวจที่ อ.ก.ตร. ตามมติให้เยี่ยวยา • การแต่งตั้ง ผบ.หมู่ (สส.) หรือ (จร.) ต้องพิจารณาจากผู้มีเคยดำรงตำแหน่งในสายงานป้องกันปราบปรามมาแล้วไม่น้อยกว่า 6 เดือนเท่านั้น • ให้คำนึกถึงสิทธิประโยชน์กรณีเงินเพิ่มพิเศษต่างๆ ห้ามแต่งตั้งข้าราชการตำรวจที่ไม่มีคุณสมบัติไปดำรงตำแหน่งเด็ดขาด • เสนอข้อมูลย้ายระหว่าง บก. ให้ทำหนังสือทำความตกลงกันด้วย • การปรับเกลี่ย พงส.หญิง แก้ไขปัญหาการสอบสวนคดีความผิดทางเพศกรณีผู้เสียหายเป็นหญิง • เพื่อขวัญกำลังใจให้แต่งตั้งข้าราชการตำรวจที่ปฏิบัติหน้าที่ตรากตรำ หรือมีผลการปฏิบัติดีเด่น ดำรงตำแหน่งในหน่วยงาน ที่ดีขึ้น

  5. กรณีแต่งตั้ง เข้า – ออก. บช.น. (กรณีข้าม บช.) • รอง สว. พิจารณาตามเหตุผลความจำเป็นเฉพาะราย • ผบ.หมู่ เนื่องจาก บช.น. ขาดแคลนกำลังพล ระดับ ผบ.หมู่ จึงขอตัวสับเปลี่ยนทุกราย • กรณีการขออนุมัติแต่งตั้งผู้ดำรงตำแหน่งไม่ครบ 2 ปี • กรณีนอกหน่วยเข้า บช.น. เห็นควรขออนุมัติทุกราย (แก้ปัญหาขาดแคลนกำลังพล) • กรณีหมุนเวียนภายใน บช.น. เห็นควรเสนอเฉพาะกรณี ดังนี้ • กรณีเพื่อประโยชน์ ได้แก่ นายเวร ลง หรือ มาดำรงตำแหน่ง นายเวร , กรณีขออนุมัติแต่งตั้งลาศึกษาต่อต่างประเทศ • กรณีเสียหายต่อทางราชการ เห็นควรเสนอเฉพาะรายที่ปรากฏเอกสารชัดเจน

  6. สิ่งที่ บก. ต้องดำเนินการ • บัญชีเสนอแต่งตั้งข้ามระหว่าง บก. (บัญชีหมายเลข 1) • บัญชีแต่งตั้งดำรงตำแหน่งต่าง ๆ หมุนเวียนภายใน บก. (บัญชีหมายเลข 2) • บัญชีเสนอขอแต่งตั้งกรณีแต่งตั้งไม่ครบ 2 ปี • กรณีเพื่อไม่ให้เกิดความเสียหาย (บัญชีหมายเลข 3) • กรณีเพื่อประโยชน์ (บัญชีหมายเลข 4) • บัญชีเสนอกรณีข้าราชการตำรวจร้องขอออกนอกสังกัด • กรณีตามอาวุโส (บัญชีหมายเลข 5) • รอง สว. ตาม กฎ ก.ตร. ว่าด้วยการ รรท. • ผบ.หมู่ ตามแนวทางที่ บช.น. กำหนด • กรณีตามความเหมาะสม (บัญชีหมายเลข 6)

  7. ขั้นตอนการแต่งตั้งระดับ รอง สว. ลงมา ในอำนาจ บก. ผบก. ออกคำสั่ง เสนอ แนะ คณะกรรมการ คัดเลือกระดับ บก. บัญชีแต่งตั้ง ผบก.

  8. ขั้นตอนการแต่งตั้งระดับ รอง สว.ลงมา ในอำนาจ บช. ผบช. ออกคำสั่ง เสนอ แนะ บัญชีแต่งตั้ง ผบช. คณะกรรมการ คัดเลือกระดับ บช. ให้ ผบก. ที่เกี่ยวข้องมีข้อเสนอแนะและมีส่วนร่วม ในการให้ความเห็นชอบ หากไม่ยุติ ให้ ผบ.ตร. ชี้ขาด

  9. ขั้นตอนการแต่งตั้งระดับ รอง สว. ลงมา กรณีข้ามสังกัด(ระหว่าง บช.) ผบช. ที่ประสงค์แต่งตั้ง ออกคำสั่ง ผบช. เสนอ แนะ ผู้ประสงค์แต่งตั้ง ทำบัญชีแต่งตั้ง ทำความตกลง คณะกรรมการ คัดเลือกระดับ บช. ผบช.

  10. กรณี รอง สว. ชื่อตำแหน่ง รอง สว. (สืบสวน),(จราจร),(ปฏิบัติการป้องกันปราบปราม) คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง 1.)สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยตำรวจ 2.) ได้รับปริญญาไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีหรือเทียบได้ไม่ต่ำกว่านี้ ทางกฎหมาย การปกครองหรือรัฐประศาสนศาสตร์ โดยต้องศึกษาสำเร็จ วิชากฎหมายไทยอย่างน้อย 3 วิชา คือ ประมวลกฎหมายอาญา ครบทุกลักษณะประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาครบทุกลักษณะ และกฎหมายลักษณะพยาน ทั้งนี้จะเป็นการศึกษาเพื่อได้รับปริญญาดังกล่าว หรือเป็นการศึกษาเพิ่มเติมภายหลักก็ได้ 3.) ฯลฯ(สายประทวนเป็นสัญญาบัตร) 4.) คุณวุฒิอื่นที่ ก.ตร.เห็นสมควร

  11. กรณี ผบ.หมู่ ชื่อตำแหน่งผบ.หมู่ (สืบสวน), ผบ.หมู่ (จราจร) คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง 1.)มีคุณวุฒิข้อหนึ่งข้อใด ดังนี้ 1.1 สำเร็จหลักสูตรนักเรียนพลตำรวจหรือเทียบหลักสูตร นักเรียนพลตำรวจตามที่ ก.ตร.กำหนด หรือคุณวุฒิอื่นที่ ก.ตร.กำหนด ให้เป็นคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งลูกแถว(ปฏิบัติการป้องกัน ปราบปราม) 1.2 สำเร็จหลักสูตรนักเรียนนายสิบตำรวจหรือเทียบหลักสูตร นักเรียนนายสิบตำรวจตามที่ ก.ตร. กำหนด และ 2.) ดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งลูกแถวหรือผู้บังคับหมู่ (ปฏิบัติการป้องกันปราบปราม) ตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่งหรือหลาย ตำแหน่งรวมกันแล้วไม่น้อยกว้า 6 เดือน ระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง จะต่อเนื่องกันหรือไม่ก็ได้

  12. คุณวุฒิที่ ก.ตร.กำหนดให้เป็นคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง ผบ.หมู่ (ปฏิบัติการป้องกันปราบปราม) 1) สำเร็จหลักสูตรสืบสวนคดีอาญาชั้นประทวน 2) สำเร็จหลักสูตรการฝึกอบรมพลตำรวจของ บช.ตชด. 3) สำเร็จหลักสูตรการฝึกอบรมบุคคลภายนอกเข้ารับราชการตำรวจรถไฟ ของตำรวจรถไฟ 4) สำเร็จหลักสูตรการฝึกอบรมบุคคภายนอกที่บรรจุหรือโอนมาเป็น ข้าราชการตำรวจชั้นประทวนและชั้นพลตำรวจ ผนวกกับการฝึกชัยยะ หรือหลักสูตรการฝึกอบรมต่อต้านและปราบปรามการก่อความไม่สงบ 5) สำเร็จหลักสูตรการฝึกอบรมที่หน่วยต่างๆ จัดให้มีขึ้นเพื่อทำหน้าที่ เกี่ยวข้องกับการป้องกันปราบปรามโดยเฉพาะ ซึ่ง ตร.เป็นผู้อนุมัติ โดยมีระยะเวลาในการฝึกอบรมไม่น้อยกว่า 3 เดือน

  13. การจัดกำลังพลข้าราชการตำรวจ ปฏิบัติภารกิจรักษาความสงบเรียบร้อย การเลือกตั้ง ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

  14. แนวทางการดำเนินการของฝ่ายกำลังพลในการจัดเจ้าหน้าที่ รปภ. ที่เลือกตั้ง 1. จัดข้าราชการตำรวจ ปฏิบัติหน้าที่ รปภ.ที่เลือกตั้ง หน่วยละ 2 นาย 2. ในวันเลือกตั้ง ให้เหลือกำลังพลปฏิบัติภารกิจบนสถานีตำรวจปกติ จำนวนไม่เกิน 30 นาย โดยหากมีความจำเป็นให้ชี้แจงโดยละเอียด เพื่อ เสนอ ผบช.น.พิจารณาอนุมัติเป็นกรณีไป 3. บก.น.1 -9 และ บก.อคฝ. จัดเตรียมกำลังเจ้าหน้าที่ตำรวจเพื่อรองรับ สถานการณ์กรณีมีเหตุชุมนุมต่างๆ ในวันเลือกตั้ง โดยไม่ต้องจัดเป็น เจ้าหน้าที่ รปภ.หน่วยเลือกตั้ง บก.น.1 - 9 บก.ละ 1 กองร้อย (9 x 155 = 1,395 นาย) บก.อคฝ. จำนวน 2 กองร้อย (2x 155 = 310 นาย ) รวมจำนวน 1,705 นาย

  15. แนวทางการดำเนินการของฝ่ายกำลังพลในการจัดเจ้าหน้าที่ รปภ.หน่วยเลือกตั้ง 4. กำชับให้ใช้กำลัง รอง สว. ปฏิบัติหน้าที่ รปภ.ประจำหน่วยเลือกตั้ง รวมทั้งให้พิจารณาจัดกำลังตำรวจหญิงปฏิบัติหน้าที่ตามความเหมาะสม 5. จัดกำลังเจ้าหน้าที่ตำรวจ สำรอง สน.ละ 3 นาย เพื่อใช้ปฏิบัติหน้าที่ รปภ.ประจำหน่วยเลือกตั้ง กรณีผู้ได้รับการแต่งตั้งเดิมไม่สามารถปฏิบัติ หน้าที่ได้ 6. บก./ สน. ประสานส่งรายชื่อผู้ปฏิบัติหน้าที่ เพื่อให้สำนักงานเขตออกคำสั่ง ก่อนวันเลือกตั้งอย่างน้อย 15 วัน

  16. การจัดกำลังในการรักษาความสงบเรียบร้อยในการเลือกตั้ง ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

  17. การจัดกำลังในการรักษาความสงบเรียบร้อยในการเลือกตั้ง ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

  18. การจัดกำลังในการรักษาความสงบเรียบร้อยในการเลือกตั้ง ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

More Related