1 / 28

การเปลี่ยนแปลงทางจิตสังคมของหญิงตั้งครรภ์

การเปลี่ยนแปลงทางจิตสังคมของหญิงตั้งครรภ์. วัตถุประสงค์. 1. อธิบายการเปลี่ยนแปลงทางจิตสังคมของ หญิงตั้งครรภ์ได้ 2. อธิบายการเปลี่ยนแปลงการเปลี่ยนแปลง ทางจิตสังคมของบิดาได้ 3. อธิบายการเปลี่ยนแปลงทางจิตสังคมของ บุตรคนก่อนได้. การเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตสังคมของหญิงตั้งครรภ์

dagan
Download Presentation

การเปลี่ยนแปลงทางจิตสังคมของหญิงตั้งครรภ์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเปลี่ยนแปลงทางจิตสังคมของหญิงตั้งครรภ์การเปลี่ยนแปลงทางจิตสังคมของหญิงตั้งครรภ์

  2. วัตถุประสงค์ 1. อธิบายการเปลี่ยนแปลงทางจิตสังคมของหญิงตั้งครรภ์ได้ 2. อธิบายการเปลี่ยนแปลงการเปลี่ยนแปลงทางจิตสังคมของบิดาได้ 3. อธิบายการเปลี่ยนแปลงทางจิตสังคมของบุตรคนก่อนได้

  3. การเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตสังคมของหญิงตั้งครรภ์การเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตสังคมของหญิงตั้งครรภ์ 1.การเปลี่ยนแปลงทางด้านอารมณ์ ไตรมาสแรก Ambivalence (มีความรู้สึกสองฝักสองฝ่าย ) ไตรมาสที่ 2 Acceptace ( เริ่มยอมรับการตั้งครรภ์ ) ไตรมาสที่ 3 เริ่มกลัวและวิตกกังวลเกี่ยวกับการคลอด และทารกในครรภ์

  4. 2. การเปลี่ยนแปลงทางด้านภาพลักษณ์ ( Body image ) ภาพในจิตใจของบุคคลที่มีต่อร่างกายของตนเอง ผลของภาพลักษณ์ที่ดีจะก่อให้เกิดความ ภาคภูมิใจ การยอมรับความมีคุณค่า

  5. 3. การเปลี่ยนแปลงด้านเพศสัมพันธ์ การแสดงออกด้านเพศสัมพันธ์เป็นผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย อารมณ์ และการมีปฎิสัมพันธ์กับบุคคลอื่นพยาบาลต้องสร้างความมั่นใจและความไว้วางใจให้หญิงตั้งครรภ์ยอมรับบอกเล่าปัญหาด้านเพศสัมพันธ์ที่เกิดขึ้น

  6. 4. การปรับตัวเข้าสู่บทบาทการเป็นมารดา บทบาท ( Role ) กลุ่มพฤติกรรมที่แสดงออกตามความคาดหวัง ของสังคมตามสถานภาพของบุคคลนั้นๆ Maternal role บทบาทการเป็นมารดาเป็นการเปลี่ยนแปลง บทบาทที่สำคัญของหญิงตั้งครรภ์ที่เพิ่มจากบทบาทภรรยา เป็นบทบาทของมารดา

  7. พัฒนกิจของหญิงตั้งครรภ์(Tasks of Pregnancy) ขั้นที่ 1 การสร้างความมั่นใจและการยอมรับการตั้งครรภ์ Pregnancy validity

  8. ขั้นที่ 2 การมีตัวตนของบุตรและรับรู้ว่าบุตรในครรภ์ เป็นส่วนหนึ่งของตน Fetal embodiment

  9. ขั้นที่ 3 การยอมรับว่าทารกเป็นบุคคลหนึ่งที่มี บุคคลิกภาพที่แตกต่างไปจากตน Fetal distinction

  10. ขั้นที่ 4 การเปลี่ยนบทบาทการเป็นมารดา Role transition

  11. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการปรับตัวต่อบทบาทการเป็นมารดาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการปรับตัวต่อบทบาทการเป็นมารดา 1. ประสบการณ์การเลี้ยงดู 2. วุฒิทางอารมณ์ของหญิงตั้งครรภ์ 3. ลักษณะทางสังคมและครอบครัว 4. สภาพทางเศรษฐกิจ 5. ประสบการณ์ในการตั้งครรภ์ที่ผ่านมา 6. สถานภาพสมรส 7. การยอมรับสภาพความเป็นจริง 8. การเรียนรู้และการได้รับข้อมูลที่ถูกต้องขณะตั้งครรภ์

  12. 5. การสร้างสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารกในครรภ์ Attachment สัมพันธภาพ หรือ การสัมผัส เป็นรูปแบบของ ปฎิสัมพันธ์ของบุคคลที่แสดงออกในทางบวก ซึ่งผลของ สัมพันธภาพนี้ทารกเป็นผู้เก็บประสบการณ์ที่ได้เพื่อจัดระบบ พฤติกรรมและพัฒนาทางด้าน ร่างกาย จิตใจ และสังคมในอนาคต Bonding ความรักใคร่ผูกพัน เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้น อย่างรวดเร็วเมื่อมารดาได้สัมผัสบุตรทันทีหลังคลอด

  13. การเปลี่ยนแปลงทางจิตสังคมของสามีหญิงตั้งครรภ์การเปลี่ยนแปลงทางจิตสังคมของสามีหญิงตั้งครรภ์ ไตรมาสแรกตื่นเต้น สับสนกับความรู้สึกรับรู้ การตั้งครรภ์ของภรรยา ไม่แน่ใจว่าจะ ทำหน้าที่สามีและบิดาได้ดีหรือไม่

  14. ไตรมาสที่สอง สามีภรรยาได้สัมผัสการดิ้นของทารกในครรภ์ ร่วมกันทำให้ความสัมพันธใกล้ชิดกันกลับมา ดังเดิม สามีภรรยาหลายคู่เมื่อได้ฟังเสียงหัวใจเด็ก ด้วยกัน เข้าอบรบหลักสูตรการปฏิบัติตัวและ การเตรียมตัวเพื่อการคลอด ทำให้มีความรัก และความเข้าใจกันมากขึ้น

  15. ไตรมาสที่สาม เป็นช่วงที่ดีที่สุด เริ่มมองเห็นบทบาทของตนเอง ที่มีต่อบุตรและภรรยามากขึ้น พร้อมที่จะรอรับ สมาชิกใหม่ของครอบครัว เตรียมสถานที่และของใช้สำหรับทารก สามีบางท่านอาจวิตกกังวลว่าบุตรของตน ที่คลอดออกมานั้นจะเป็นอย่างไร เริ่มวิตกกังวลว่าจะเกิดอะไรขึ้นกับภรรยาและ ทารกในระยะคลอด รู้สึกว่าเป็นความรับผิดชอบ ของตนที่พึงมีต่อภรรยาและบุตร

  16. การเปลี่ยนแปลงทางจิตสังคมของบุตรคนก่อนๆการเปลี่ยนแปลงทางจิตสังคมของบุตรคนก่อนๆ บุตรส่วนใหญ่กลัวการเปลี่ยนแปลงของสัมพันธภาพ ระหว่างตนเองกับบิดา มารดา การเตรียมบุตรคนก่อนควร เตรียมตามวัย บิดามารดาต้องให้ความมั่นใจว่า บุคคล สิ่งของ หรือกิจกรรมในครอบครัวเป็นเช่นเดิม เพียงแต่ จะมีสมาชิกใหม่เพิ่มขึ้นมา เปิดโอกาสให้บุตรคนก่อน ได้แสดงความเห็น หรือระบายความรู้สึก ให้ได้มีส่วนร่วม ในการช่วยเหลือบิดา มารดาในการดูแลบุตรคนใหม่

  17. อารมณ์จะดีหรือไม่...ที่สำคัญคือเรื่องของการดูแลสภาพร่างกายและจิตใจ หากคิดดี ทำดี จิตใจดี อารมณ์ดีย่อมตามมาชนิดที่สมองแทบ ไม่ต้องสั่งการเลยก็ว่าได้

  18. พร10 ประการ จากนางฟ้าทั้ง 10 องค์

  19. นางฟ้าตัวน้อย 3 คนแรกเป็นพี่น้องกัน มีชื่อว่า ความซื่อตรง,ความหวัง และ ความเมตตา “ขออวยพรให้ท่านได้รับทุกสิ่งตามที่หวัง จากความซื่อตรงและเมตตา ของท่านต่อผู้อื่น”

  20. นางฟ้าคนที่ 4 ผู้มีลักษณะสุขุม เยือกเย็น มีชื่อว่าความอดทน “ขอให้พลังความอดทนของท่านจงแก่กล้า สามารถชนะอุปสรรคทั้งปวง”

  21. นางฟ้าคนที่ 5 ผู้มีใบหน้าสดใส ยิ้มแย้มอยู่เป็นนิตย์ มีชื่อว่า การให้อภัย “ขอให้ใจท่านสงบสุขจากการให้อภัย และเห็นอกเห็นใจผู้อื่น”

  22. นางฟ้าคนที่ 6 ผู้ที่มีใบหน้าที่สวยงามราวกับภาพวาด และมีเสียงที่ไพเราะ กังวาน ราวกับนกน้อย ชื่อว่า ความงาม “ขอให้ท่านจงมีความงามพร้อมทั้งร่างกาย และจิตใจเป็นที่ชื่นชอบของผู้อื่นตลอดไป”

  23. นางฟ้าคู่แฝดแสนซนองค์ที่ 7และ 8มีชื่อว่า ความสนุก และ ความสุขกล่าวอวยพรด้วยน้ำเสียงสดใส พร้อมกับเสียงหัวเราะเริงร่าว่า “ขอให้ท่านมีชีวิตที่สนุก มองโลกและทุกอย่างในแง่ดี เพื่อให้ความสุขนั้นเป็นนิรันดร์”

  24. นางฟ้าตัวน้อยคนที่ 9 ผู้เป็นขวัญใจของนางฟ้าคนอื่นๆ มีชื่อว่าเพื่อน “เราจะมอบความร่ำรวยที่แท้จริงให้ท่าน นั่นคือ ความร่ำรวยเพื่อน เมื่อท่านเริ่มสร้างความเป็นมิตรท่านจะมั่งมีตลอดไป”

  25. นางฟ้าคนสุดท้าย ผู้เป็นที่รักของบรรดานางฟ้าทั้งหมด มีชื่อว่า ความรัก “ขอให้ท่านมีแต่คนรักใคร่ ชื่นชม และอย่าลืมส่งผ่านความรักให้ผู้อื่นด้วย”

  26. เพี้ยง!!!!!! ขอให้พรทั้ง 10 ประการนี้บังเกิดแก่ทุกท่านในที่นี้ ตลอดไปด้วยเทอญ

  27. ขอให้โชคดีในการสอบ

More Related