230 likes | 707 Views
ยุทธศาสตร์การนำองค์กรด้วย การจัดการสมัยใหม่ สู่ความเป็นเลิศ เสนอ รองศาสตราจารย์วิชุดา ไชยศิ วามงคล จัดทำโดย นางสาว อนุสรา พิพิทธภัณฑ์ 545020242-8 ภาควิชาสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ . ASPECTS TO BE COVERED ยุทธศาสตร์ /กลยุทธ์ ความสำคัญ ของแผนกลยุทธ์เพื่อสร้างความเป็นเลิศขององค์กร
E N D
ยุทธศาสตร์การนำองค์กรด้วย การจัดการสมัยใหม่ สู่ความเป็นเลิศ เสนอ รองศาสตราจารย์วิชุดา ไชยศิวามงคล จัดทำโดย นางสาวอนุสราพิพิทธภัณฑ์ 545020242-8 ภาควิชาสถิติ คณะวิทยาศาสตร์
ASPECTS TO BE COVERED • ยุทธศาสตร์/กลยุทธ์ • ความสำคัญของแผนกลยุทธ์เพื่อสร้างความเป็นเลิศขององค์กร • ปัจจัยแห่งความสำเร็จ • การพัฒนาองค์การสู่ความเป็นเลิศ • หลุมดำต่อการพัฒนาองค์กรสู่ความเป็นเลิศ
ยุทธศาสตร์ Vs กลยุทธ์ • ยุทธศาสตร์ กับ กลยุทธ์ มีจากศัพท์ภาษาอังกฤษว่า Strategy นี้มีรากศัพท์มาจากภาษากรีกคือ Strategiaแปลว่า “การเป็นนายทัพ” • ยุทธศาสตร์นั้นเป็นคำของทหาร ต่อมาได้ขยายเอาไปใช้ในทางการเมือง เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และจิตวิทยา ทำให้มีคำว่ายุทธศาสตร์ชาติขึ้น ยุทธศาสตร์จึงใช้กับเรื่องใหญ่ๆ เป็นระดับชาติหรือส่วนราชการ • กลยุทธ์นั้นใช้กับเรื่องหรือองค์กรย่อยๆ เล็กๆ เช่น บริษัทห้างร้านหรือหน่วยงานต่างๆของรัฐ
ความหมายของการวางแผนกลยุทธ์ • การวางแผน (Planning): การวิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบัน • คาดการณ์ไปล่วงหน้า และกำหนดแนวทางที่คาดว่าน่าจะดีที่สุด • เพื่อให้เกิดการปฏิบัติอย่างได้ผล • กลยุทธ์ (Strategy): ไม่ใช้วิธีการธรรมดา มีการใช้ความคิดเป็นพิเศษ • เพื่อกลั่นเอาแนวทางที่ดีที่สุด และสามารถแปรเปลี่ยนสถานการณ์ทุก • ประเภท ให้กลับกลายเป็นประโยชน์แก่หน่วยงาน ไม่ว่าขณะนั้น • องค์การจะอยู่ในสถานการณ์ใด ไม่ว่าจะเป็นช่วงได้เปรียบ หรือ • เสียเปรียบก็ตาม
ความหมายของแผนยุทธศาสตร์ หรือกลยุทธ์ • แผนกลยุทธ์ (Strategy planning): การกำหนดพันธกิจขององค์กร เป้าหมายและจุดประสงค์ ตลอดจนแผนปฏิบัติการเพื่อให้บรรลุผลโดยมีการพิจารณาและวิเคราะห์สถานการณ์รอบข้างและการแข่งขันอย่างถูกต้องชัดเจน • แผนยุทธศาสตร์หรือกลยุทธ์ที่ดี • บอกสิ่งที่องค์กรต้องทำเพื่อบรรลุเป้าหมาย • นำเสนอคุณค่าที่แตกต่าง (Differentiation) ให้กับผู้รับบริการหรือลูกค้า - Michael Porter
การตัดสินใจเชิงกลยุทธ์/ยุทธศาสตร์การตัดสินใจเชิงกลยุทธ์/ยุทธศาสตร์ • 4 Important Issues : • Direction of the Organization • Competition • Process Improvement • Survival of the Organization
STRATEGIC ORGANIZATION MANAGEMENT การบริหารองค์กรเพื่อความเป็นเลิศโดยการจัดทำแผนยุทธศาสตร์มีลักษณะสำคัญ (Key Elements)คือ การพิจารณาถึงผลกระทบจากสถานการณ์นอกองค์กร (Recognition of the Impact of the Outside Environment) การพิจารณาถึงผลกระทบจากการแข่งขันและความผันผวนของสถานการณ์ (Recognition of the Impact of Competition and the Dynamics of the Situation)
การกำหนดทิศทางหรือมุ่งเป้าระยะยาวการกำหนดทิศทางหรือมุ่งเป้าระยะยาว (Long-range Focus : 3-5 years) การสร้างความแตกต่าง (Differentiation) การมองหาทางเลือกและการตัดสินใจ (Choice and Decision-making Focus) (Problem-solving or Problem-preventing Focus) เช่น แข่งขันด้านไหน (Where to Compete?) แข่งขันอย่างไร (How to Compete?)
Overviews ofStrategic Planning วิสัยทัศน์ - หน้าที่ฯ - นโยบาย / เป้าหมาย/ วัตถุประสงค์ ยุทธ์ศาสตร์ (รัฐบาล/ กระทรวง/ ทบวง/กรม) แผนงาน พันธกิจ ผลลัพธ์ ผลผลิต เป้าประสงค์ กิจกรรมหลัก ต้นทุน ประเด็นยุทธศาสตร์ การติดตามประเมินผล BSC/ISO/PMQA/TQA/กพร./สกอ.
Organization OUTSIDE OR EXTERNAL ENVIRONMENT Societal environment Sociocultural and demographic forces Technological forces Task environment Labor market Market (Customers/clients) Other stakeholders Competition Legal and political forces Economic forces
SWOT Analysis 7 Ss S = Strengths W = Weaknesses O = Opportunities T = Threats Internal Factors External Factors PEST
Strategic Choices Taken from SWOT STRENGTHS กลยุทธ์ร่วมดำเนินการ Joint Venture etc. กลยุทธ์เชิงรุก Proactive OPPORTUNITIES THREATS กลยุทธ์เพิ่มคุณภาพหรือปรับปรุงจุดอ่อน Improve Quality กลยุทธ์ชะลอหรือหลีกเลี่ยง Retrenchment or Divestitures
การนำองค์กรด้วยการจัดการสมัยใหม่สู่ความเป็นเลิศการนำองค์กรด้วยการจัดการสมัยใหม่สู่ความเป็นเลิศ หลักการที่สำคัญและข้อพึงสังเกต องค์กรที่ดีเลิศ ต้องมีความแตกต่างจากองค์กรที่ดีเด่นหรือองค์กรที่ดี ทั่วๆ ไป ดังนั้น ยุทธศาสตร์การบริหารต้องชี้ให้เห็นความแตกต่าง ความแตกต่าง เป็นเรื่องของการเทียบเคียงหรือเปรียบเทียบ ดังนั้น ผู้บริหารต้องมองสถานการณ์นอกองค์กรและความผันผวนของสถานการณ์
การนำองค์กรด้วยการจัดการสมัยใหม่สู่ความเป็นเลิศ (ต่อ) ปัจจุบัน มีเครื่องมือในการบริหารจัดการมาก แต่ไม่มีเครื่องมือใดที่เหมาะสมกับทุกสถานการณ์หรือทุกองค์กร ดังนั้น ผู้บริหารต้องเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสม ทั้งกับองค์กรและเวลาที่ใช้ องค์กรหนึ่งๆ มักต้องใช้เครื่องมือในการบริหารจัดการมากกว่า 1 อย่าง ดังนั้น ผู้บริหารต้องสร้างความเชื่อมโยงของเครื่องมือเหล่านั้น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การใช้จุดเด่นของเครื่องมือแต่ละอย่าง แก้ไขจุดอ่อนของเครื่อง-มืออย่างอื่น
การนำองค์กรด้วยการจัดการสมัยใหม่สู่ความเป็นเลิศ(ต่อ)การนำองค์กรด้วยการจัดการสมัยใหม่สู่ความเป็นเลิศ(ต่อ) จำนวนเครื่องมือในการบริหารจัดการที่ใช้ ไม่ได้แปรโดยตรงกับความสำเร็จขององค์กร จุดสำคัญอยู่ที่ใช้ให้เหมาะสมกับสถานการณ์และเวลา เครื่องมือในการบริหารจัดการที่ใช้ ต้องสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ที่เลือก (Strategic Choice) แผนยุทธศาสตร์ขององค์กร ต้องถ่ายทอดลงสู่แผนยุทธศาสตร์ของหน่วยงานหรือองค์ประกอบต่างๆ ขององค์กร (Alignment) และแผนยุทธศาสตร์ของหน่วยงานหรือองค์ประกอบต่างๆ ต้องสอดคล้องกัน
Corporate Strategy Financial Strategy Education Strategy Human Resource Strategy Academic & Research Strategy ICT Strategy Integration Corporate Strategy Drives Functional Strategies
Corporate strategy Human resource strategy Growth/Expansion Aggressive hiring, training, promotions Retrenchment Layoffs, terminations, early retirement Diversification New corporate staff configuration, promotions, training, hiring Mergers, Acquisitions Corporate acculturation, hiring or laying off Divestitures Staff reconfiguration, lay offs, reassignments Differentiation Decentralized hiring and training Low-cost producer Cost reduction, wage cuts, efficiency improvements Luxury/High quality Hiring highly skilled personnel, training, special compensation plans P Watanapa
CAUSES OF FAILURE ลุ่มหลงกับความสำเร็จในอดีต (Softened bysuccess) มองไม่เห็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น (See no evil) กลัวนายมากกว่าการแข่งขัน (Fearing the boss than the competition) มีความเสี่ยงที่มากเกินไป(บ้าบิ่น) (Overdosing on risk) ลงทุนแล้วไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ (Acquisition lust) ให้ความสนใจนักวิเคราะห์และนักลงทุนมากกว่าเสียงพนักงาน (Listening to Wall Street more than employees) กลยุทธ์ไม่นิ่ง (Strategy du jour) วัฒนธรรมองค์กรที่น่ากลัว (Dangerous corporate culture) เข้าไปในห่วงโซ่ของความล้มเหลว (The new-economy death spiral) กรรมการใหญ่ไม่มีประสิทธิภาพ (Dysfunctional board)