1 / 81

กระบวนการวิจัยทางการศึกษา โดย ดร.สมศักดิ์ ดลประสิทธิ์และคณะ

กระบวนการวิจัยทางการศึกษา โดย ดร.สมศักดิ์ ดลประสิทธิ์และคณะ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรเพื่อสนับสนุน การตรวจราชการแนวใหม่ รุ่น 1 - 3 วันที่ 1-3,8-10 และ 15-17 กันยายน 2546 ณ โรงแรมเอสดี อเวนิว กรุงเทพมหานคร. 1. วัตถุประสงค์.

dalia
Download Presentation

กระบวนการวิจัยทางการศึกษา โดย ดร.สมศักดิ์ ดลประสิทธิ์และคณะ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กระบวนการวิจัยทางการศึกษากระบวนการวิจัยทางการศึกษา โดย ดร.สมศักดิ์ ดลประสิทธิ์และคณะ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรเพื่อสนับสนุน การตรวจราชการแนวใหม่ รุ่น 1-3 วันที่ 1-3,8-10 และ15-17 กันยายน 2546 ณ โรงแรมเอสดี อเวนิว กรุงเทพมหานคร 1

  2. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการทำวิจัย ทางการศึกษา 2. เพื่อฝึกทักษะการทำวิจัยทางการศึกษา 3. เพื่อฝึกกระบวนการกลุ่มสำหรับการพัฒนางานวิจัย 2

  3. สาระที่นำเสนอ 1. แนวคิดกระบวนการวิจัยทางการศึกษา 2. การวิจัยกับการทำผลงานวิชาการ 3. การวิจัยกับการประเมินผล 4. กระบวนการวิจัย 5. ระเบียบวิธีการทางสถิติ 3

  4. การวิจัย เป็นกระบวนการหาความรู้ ข้อเท็จจริง โดยใช้ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และกระบวนการทางสถิติ กระบวนการวิจัย เริ่มต้นจากการศึกษาปัญหา กำหนดวัตถุประสงค์ กำหนดวัตถุประสงค์ ตั้งสมมติฐาน กำหนดตัวแปร นิยามศัพท์ สร้างเครื่องมือวิจัย เก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์และแปรผลข้อมูล รายงานการวิจัย แนวคิดกระบวนการวิจัย 4

  5. การวิจัยกับการทำผลงานทางวิชาการการวิจัยกับการทำผลงานทางวิชาการ ผลงานวิชาการ เป็นผลงานหรือผลสำเร็จของ งานที่ตรงกับลักษณะงานและหน้าที่ความรับผิดชอบ มีหลายประเภท เช่น รายงานการวิจัย รายงานการ วิเคราะห์ สังเคราะห์ รายงานการประเมินผล รายงานการดำเนินงาน เอกสารตำรา หนังสือ บทความ เอกสารประกอบ การปฏิบัติงาน ฯลฯ 5

  6. ความแตกต่างระหว่างการวิจัยและการประเมินความแตกต่างระหว่างการวิจัยและการประเมิน วัตถุประสงค์ การเลือกปัญหา สมมติฐาน การตัดสิน ตัวแปร ประชากร การสุ่มตัวอย่าง ข้อมูล การควบคุมได้ การสรุปอ้างอิง การวิจัย ค้นหาความจริง ผู้วิจัย สดสอบทางสถิติ เลือกปัญหา ได้จากการทบทวนเอกสาร ทั่วไป เป็นตัวแทน ปฐมภูมิ สูง สรุปไปยังประชากรอื่นได้ การประเมิน ตัดสินคุณค่าได้จากข้อค้นพบ สถานการณ์/สิ่งที่ประเมิน ไม่กำหนดล่วงหน้า ทุกขั้นตอน ได้จากตัวชี้วัด ตามแผน โครงการหรือบุคคล ระบุกลุ่มเป้าหมาย ทั้งปฐมภูมิและทุติยภูมิ ต่ำ สรุปเฉพาะเรื่องที่ประเมิน 6

  7. รายงานการวิจัย เป็นเอกสารทางวิชาการประเภทหนึ่งของ ผลงานวิชาการ ส่วนประกอบของผลงานวิชาการ/การวิจัย บทที่ 1 บทนำ บทที่ 2 แนวคิด/วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง บทที่ 3 วิธีดำเนินการ บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน บทที่ 5 สรุปและรายงานผล 7

  8. กระบวนการวิจัยทางการศึกษากระบวนการวิจัยทางการศึกษา เป็นการกำหนดทิศทาง ประเด็นปัญหาในสาขาวิชาด้าน การศึกษา มีกรอบแนวคิดเกี่ยวกับโรงเรียน ผู้บริหาร ครู นักเรียน การบริหารจัดการ ระบบการศึกษา ฯลฯ 8

  9. ขั้นตอนการวิจัย 1. การกำหนดปัญหาและวัตถุประสงค์ 2. การออกแบบการวิจัย 3. การตั้งสมมติฐาน/การกำหนดตัวแปร 4. การกำหนดประชากร/กลุ่มตัวอย่าง 5. การเก็บรวบรวมข้อมูล 6. การสร้างเครื่องมือวิจัย 7. การวิเคราะห์ข้อมูล 8. การนำเสนอและรายงานการวิจัย 9

  10. ลักษณะสำคัญของการวิจัย 1. เป็นกระบวนการค้นคว้าหาข้อเท็จจริง 2. เป็นกระบวนการที่มีระบบระเบียบ 3. เป็นการกระทำที่มีจุดหมายแน่นอน 10

  11. RESEARCH Recruitment /Relationship ฝึกตนให้มีความรู้และร่วม ทำงานกับผู้มีความรู้ Education/Efficiency ผู้วิจัยมีการศึกษา Sciences พิสูจน์ค้นคว้าหาข้อเท็จจริง Evaluation ประเมินผลการวิจัยได้ Aim/Attitude มีจุดมุ่งหมายแน่นอน Result ยอมรับผลลัพธ์ที่ได้ Curiosity อยากรู้อยากเห็น สนใจ และขวนขวายในงานวิจัยเสมอ Horizon ผลวิจัยทำให้ผู้วิจัยทราบและเข้าใจปัญหาต่างๆ 11

  12. การออกแบบการวิจัย เป็นขั้นตอนของการเชื่อมโยงแบบแผนการวิจัยโดย การอ้างอิงเชิงทฤษฎีเข้าสู่การอ้างอิงเชิงประจักษ์ 12

  13. ระเบียบวิธีการทางสถิติระเบียบวิธีการทางสถิติ การเขียนรายงานการวิจัย เป็นส่วนสำคัญของการวิจัยที่นำมาใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล การนำเสนอข้อมูล การแปลความหมาย และการอภิปรายผลข้อมูลอย่างเป็นระบบ เป็นการนำเสนอเพื่อให้ทราบที่มาของปัญหา กรอบความคิดการวิจัย วิธีดำเนินการวิจัย ผลการวิจัย และประโยชน์จากการวิจัย 13

  14. เป็นขั้นตอนแรกและสำคัญที่จะกำหนดแนวทางการทำวิจัยเป็นขั้นตอนแรกและสำคัญที่จะกำหนดแนวทางการทำวิจัย การกำหนดปัญหาและวัตถุประสงค์ เป็นเรื่องใหม่ น่าสนใจ สำคัญ เป็นไปได้ในการปฏิบัติ มีข้อมูลเพียงพอ แหล่งข้อมูลน่าเชื่อถือ วัตถุประสงค์ เป็นข้อความที่บอกขอบเขตว่า ต้องการ ศึกษาอะไร หาคำตอบอะไร มี 2 ประเภท คือ วัตถุประสงค์ทั่วไป และวัตถุประสงค์เฉพาะ 14

  15. การตั้งสมมติฐาน สมมติฐาน เป็นคำตอบที่คาดการณ์ล่วงหน้า อย่างมีเหตุมีผลต่อปัญหาที่ศึกษา มี 2 ประเภท 1. สมมติฐานทางการวิจัย 2. สมมติฐานทางสถิติ ทั้ง 2 แบบเขียนได้ทั้งแบบมีทิศทางและ ไม่มีทิศทาง 15

  16. สถิติที่ใช้ในแต่ละระดับการวัดสถิติที่ใช้ในแต่ละระดับการวัด Nominal Scalesใช้ความถี่ เปอร์เซ็นต์ ฐานนิยม Chi-Square Test Ordinal Scales ค่ามัธยฐาน ฐานนิยม เปอร์เซ็นต์ไทล์ สหสัมพันธ์ Interval Scales/ Ratio Scales ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน(S.D.)Correlation Analysis Regressional Analysis Analysis of Variance 18

  17. การจัดประเภทตัวแปรความสัมพันธ์การจัดประเภทตัวแปรความสัมพันธ์ 1. ตัวแปรอิสระ (Independent Variable) เป็น ตัวแปรที่มาก่อน หรือส่งผลต่อตัวแปรอื่น 2. ตัวแปรตาม (Dependent Variable) เป็นตัวแปรผล ที่มาจากตัวแปรอิสระหรือที่วัดได้จากการทดลอง 19

  18. การออกแบบการวิจัย การอ้างอิงเชิงทฤษฎี การอ้างอิงเชิงประจักษ์ การสรุปและอภิปรายผล 20

  19. จุดมุ่งหมายของการออกแบบจุดมุ่งหมายของการออกแบบ 1. เป็นแนวทางหาคำตอบที่มีความตรง 2. เพื่อจัดการความแปรปรวนที่เกิดขึ้นในการวิจัย 21

  20. เกณฑ์การออกแบบการวิจัยเกณฑ์การออกแบบการวิจัย 1. ต้องได้คำตอบตรงประเด็นปัญหา 2. มีความตรงภายในและความตรงภายนอก 3. ใช้ทรัพยากรเหมาะสม มีประสิทธิภาพ และเหมาะกับเหตุการณ์/เวลา 22

  21. ความตรงภายใน(Internal validity) คือ ผลการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรตาม มาจากตัวแปรอิสระที่ใช้ในการศึกษเท่านั้น 23

  22. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตรงภายใน 1. ภูมิหลักของกลุ่มตัวอย่าง (History) 2. วุฒิภาวะ (Maturation) 3. การทดสอบ (Testing) 4. เครื่องมือ (Intrument) 5. การถดถอยทางสถิติ (Regression) 6. การเลือกตัวอย่าง (Selection) 7. การขาดหายของตัวอย่าง (Mortality) ระหว่างการวิจัย 8. การเกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างการคัดเลือกตัวอย่างและ วุฒิภาวะของตัวอย่าง (Selection Maturation Interaction) 24

  23. ความตรงภายนอก(External validity) ผลการวิจัยสามารถสรุปผลอ้างอิง ไปยังประชากรได้ถูกต้อง 25

  24. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตรงภายนอกปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตรงภายนอก 1. ปฏิสัมพันธ์ระหว่างการเลือกตัวอย่างกับ การใช้วิธีการทดลอง 2. ปฏิกิริยาร่วมระหว่างการทดสอบครั้งแรก กับวิธีการทดลองและการสอบครั้งหลัง 3. ปฏิกิริยาจากการจัดสภาพการทดลอง 26

  25. ขั้นตอนการออกแบบการวิจัยขั้นตอนการออกแบบการวิจัย 1. กำหนดขอบเขตการวิจัย 2. เลือกประเภทของการวิจัย 3. ออกแบบการดำเนินงาน - การสุ่มตัวอย่าง - การวัดตัวแปร - การวิเคราะห์ข้อมูล 4. กำหนดเวลาในการดำเนินงาน 5. กำหนดงบประมาณที่ใช้ 27

  26. ประเภทของการวิจัย 1. แบ่งตามประโยชน์ของการใช้ - วิจัยพื้นฐาน มุ่งศึกษาความรู้ใหม่ - วิจัยประยุกต์ นำผลไปใช้ประโยชน์ - วิจัยปฏิบัติการ ใช้แก้ปัญหาการปฏิบัติงาน 28

  27. 2. แบ่งตามวิธีเก็บรวบรวมข้อมูล - วิจัยเอกสาร - วิจัยจากการสังเกต - วิจัยแบบสำมะโน - วิจัยสำรวจจากตัวอย่าง - วิจัยเฉพาะกรณี - วิจัยแบบมีส่วนร่วม 29

  28. 3. แบ่งตามลักษณะวิชา - วิจัยเชิงประเมิน - วิจัยเชิงนโยบาย - วิจัยเชิงประวัติศาสตร์ 30

  29. 4. แบ่งตามรูปแบบการวิจัย - การศึกษาเฉพาะกรณี - การสำรวจ - การทดลอง ฯลฯ 31

  30. 5. แบ่งตามวิธีเก็บรวบรวมข้อมูล - การวิจัยเชิงปริมาณ - การวิจัยเชิงคุณภาพ 32

  31. การตั้งสมมติฐานการวิจัยการตั้งสมมติฐานการวิจัย สมมติฐาน หมายถึง คำตอบที่คาดการณ์ ไว้ล่วงหน้าอย่างมีเหตุผล หรือการพยากรณ์ ผลลัพธ์ที่เป็นไปได้บางประการของการศึกษา 33

  32. ลักษณะของสมมติฐาน 1. เป็นการคาดการณ์ผลลัพธ์ส่วนตัว 2. แสดงความสัมพันธ์ของตัวแปรตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป 3. เป็นเหตุเป็นผลและมีหลักการ 4. ทดสอบความสัมพันธ์ทางสถิติได้ 34

  33. ประเภทของสมมติฐาน 1. สมมติฐานการวิจัย (Research Hypothesis) ใช้ภาษาสื่อ ความสัมพันธ์ของตัวแปรที่ศึกษาที่เป็นความคาดหวังของผู้วิจัย 2. สมมติฐานทางสถิติ(Statistical Hypothesis) เขียนในรูปของ โครงสร้างทางคณิตศาสตร์ ที่เกี่ยวข้องกับค่าพารามิเตอร์ที่ยัง ไม่ทราบค่า เพื่อเป็นแนวทางการทดสอบด้วยวิธีการทางสถิติ 35

  34. การเขียนสมมติฐาน 1. เขียนเป็นประโยชน์บอกเล่า 2. เขียนให้ครอบคลุมปัญหา 3. เขียนให้เป็นไปได้ในทางตัดสินใจ 4. สื่อข้อความที่ผู้อ่านเข้าใจตรงกัน 5. สามารถทดสอบด้วยวิธีการทางสถิติ 36

  35. การเก็บรวบรวมข้อมูล - อาศัยเครื่องมือที่มีคุณภาพ - เก็บข้อมูลถูกต้องตรงกับเนื้อหาที่ทำวิจัย ประเภทเครื่องมือ - แบบสอบถาม - แบบทดสอบ - แบบสัมภาษณ์ - แบบสังเกต 37

  36. การวิเคราะห์ข้อมูล - เตรียมข้อมูลเพื่อประมวลผล - เลือกใช้สถิติให้เหมาะสม - ผู้วิจัยต้องเข้าใจลักษณะข้อมูล 38

  37. การสังเคราะห์วรรณกรรมการสังเคราะห์วรรณกรรม เอกสารหรือวรรณกรรม เป็นผลงานเขียนทาง วิชาการที่มีการจัดทำหรือพิมพ์เผยแพร่ในรูปสื่อ สิ่งพิมพ์ หรือสื่ออื่นๆ เช่น สื่อโสตทัศนูปกรณ์ ซีดีรอม ไมโครฟิล์ม เป็นต้น 39

  38. การเลือกงานวิจัยที่เกี่ยวข้องการเลือกงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 1. มีความทันสมัย เหมาะสมในการอ้างอิง 2. เป็นเครื่องชี้นำในการศึกษาข้อมูลของผู้วิจัย 3. มีหนังสืออ้างอิงเพียงพอที่จะเป็นแนวค้นคว้า 4. เสนอแนวคิดที่เป็นประโยชน์ต่อผู้วิจัย 40

  39. การกำหนดประชากร/กลุ่มตัวอย่างการกำหนดประชากร/กลุ่มตัวอย่าง ประชากร(Population) กลุ่มของสิ่งต่างๆ ที่สมาชิกทุกหน่วยเป็นกลุ่ม เป้าหมายที่ผู้วิจัยต้องการศึกษา กลุ่มตัวอย่าง(Sample) กลุ่มย่อยของประชากรที่ใช้ในการศึกษาและ เป็นตัวแทนที่ดีของประชากร ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง คำนวณจากสูตรหรืออาศัยตารางสำเร็จรูป เช่น ตาราง YAMANE ทั้งนี้ต้องคำนึงถึง ขนาดประชากร ลักษณะความแตกต่าง ขนาดความคลาดเคลื่อนที่ยอมรับได้ ระดับความเชื่อมั่นของการประมาณค่า งบประมาณ และเคลื่องมือที่ใช้ 41

  40. การสุ่มตัวอย่าง มี 5 วิธี 1. Simple Random Sampling - สุ่มอย่างง่าย สุ่มประชากรที่มีลักษณะใกล้ เคียง(จับสลาก) 2. Systematic Random Sampling - สุ่มอย่างเป็นระบบ 3. Stratified Random Sampling - สุ่มแบบสัดส่วน สุ่มแต่ละกลุ่มย่อยประชากร 4. Cluster Random Sampling - สุ่มโดยการแบ่งกลุ่ม 5. Muti-Stage Sampling - สุ่มมากกว่า 1 ครั้ง(แบ่งชั้น) 42

  41. ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง คำนวณจากสูตรหรืออาศัยตารางสำเร็จรูป เช่น ตาราง YAMANE ทั้งนี้ต้องคำนึงถึง ขนาดประชากร ลักษณะความแตกต่าง ขนาดความคลาดเคลื่อนที่ยอมรับได้ ระดับความเชื่อมั่นของการ ประมาณค่า งบประมาณและเครื่องมือที่ใช้ 43

  42. เครื่องมือวิจัย เครื่องมือ - คือวิธีการใดๆหรือสิ่งที่ผู้วิจัยใช้ในการเก็บรวบรวม ข้อมูลอย่างเป็นระบบ เช่น แบบทดสอบ - ใช้ทดสอบความรู้ แบบสัมภาษณ์ - ใช้สัมภาษณ์ แบบสังเกต - ใช้สังเกต ผู้วิจัย - การมีส่วนร่วมในชุมชน 44

  43. การเก็บรวบรวมข้อมูล 1. อธิบายวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลให้ชัดเจน 2. ตรวจสอบวิธีการได้มาของข้อมูลและเหล่งข้อมูล 3. ระบุข้อจำกัดของการรวบรวมข้อมูล 4. ครวจสอบความอคติหรือความรอบคอบของผู้เก็บข้อมูล 45

  44. แบบทดสอบ (Test) คือ ชุดคำถามที่สร้างขึ้นอย่างเป็นระบบ เพื่อใช้วัด พฤติกรรมประเภทความรู้และความคิดเช่น - Achievement Test - Aptitude Test - Personality Test 46

  45. ขั้นตอนการสร้างแบบทดสอบขั้นตอนการสร้างแบบทดสอบ 1. กำหนดวัตถุประสงค์ 2. กำหนดลักษณะของแบบทดสอบ 3. สร้างแบบทดสอบ 4. สร้างตัวคำถาม 5. ประเมินคุณภาพ ด้วยวิธีหาความเที่ยง/ค่าความตรงและความ เป็นปรนัย 47

  46. แบบสอบถาม (Questionnaire) คือชุดของคำถามที่สร้างขึ้นเพื่อใช้ในการกับรวบรวมข้อมูลใช้กับ ข้อมูลด้านความรู้สึกและอารมณ์ หรือ ความคิดเห็น 48

  47. ขั้นตอนการสร้างแบบสอบถามขั้นตอนการสร้างแบบสอบถาม 1. กำหนดวัตถุประสงค์ 2. ระบุประเด็นหลักให้ครอบคลุมวัตถุประสงค์ 3. ร่างแบบสอบถาม 4. ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา/ภาษาที่ใช้ 5. ทดลองใช้ (Tryout) 6. ปรับปรุงและนำไปใช้ 49

  48. แบบสัมภาษณ์ (Interview) คือชุดของคำถามที่ใช้สัมภาษณ์และจดบันทึกผลการสัมภาษณ์ โดยผู้ตอบไม่มีโอกาสเห็นข้อความคำถาม - การสัมภาษณ์มีทั้งแบบมีโครงสร้างและไม่มีโครงสร้าง -คำถามมีทั้งแบบมีตัวเลือกคงที่ และคำถามปลายเปิด 50

More Related