230 likes | 366 Views
สาเหตุที่ประชาชนไม่นิยมดื่มน้ำประปาของ กปภ. มากเท่าที่ควร และแนวทางแก้ไข. หน่วยงานที่รายงานผลการศึกษา : กองวิเคราะห์วิจัยธุรกิจ ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ. ช่วงเวลาที่สำรวจข้อมูล : 21 – 29 พฤศจิกายน 2550. สถานที่ : กปภ.สาขาบ้านโป่ง และ กปภ.สาขาสมุทรสงคราม.
E N D
สาเหตุที่ประชาชนไม่นิยมดื่มน้ำประปาของ กปภ. มากเท่าที่ควร และแนวทางแก้ไข หน่วยงานที่รายงานผลการศึกษา: กองวิเคราะห์วิจัยธุรกิจ ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ ช่วงเวลาที่สำรวจข้อมูล:21 – 29 พฤศจิกายน 2550 สถานที่:กปภ.สาขาบ้านโป่ง และ กปภ.สาขาสมุทรสงคราม วิธีการศึกษา: เชิงปริมาณ (Quantitative) โดยการสัมภาษณ์ผู้ใช้น้ำ กปภ. จำนวน 260 ราย ( ป.สมุทรสงคราม 130 ราย , ป.บ้านโป่ง 130 ราย ) : เชิงคุณภาพ (Qualitative) โดยการสัมภาษณ์ผู้จัดการประปา หัวหน้างาน ผลิต หัวหน้างานบริการ และผู้ใช้น้ำ
สาเหตุที่ดื่ม พบว่ากลุ่มตัวอย่างที่ดื่มน้ำประปาดื่มได้ จำนวน 61 คน (จากกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 260 คน) ให้เหตุผลที่ดื่มน้ำประปาดื่มได้ดังนี้ (เรียงจากเหตุผลที่ให้มากที่สุดไปน้อยที่สุด) 1. ราคาถูก/ประหยัดค่าใช้จ่าย จำนวน 88.52% 2. สะดวก บริการถึงบ้าน (น้ำประปาส่งถึงบ้าน) จำนวน 81.97% 3. น้ำมีรสชาติปกติ จำนวน 78.69% 4. ดื่มแล้วไม่มีปัญหา จำนวน 75.41% 5. น้ำประปาสะอาดปราศจากเชื้อโรค ไม่มีอันตราย จำนวน 62.30% 6. ทราบข่าวสารเกี่ยวกับโครงการนี้ จำนวน 32.79% 7. เจ้าหน้าที่ของรัฐจูงใจให้ดื่ม จำนวน 19.67% 1 8. ต้องการช่วยลดมลภาวะจากขวดพลาสติก จำนวน 13.11%
84.92% 82.41% 39.20% สาเหตุที่ไม่ดื่ม พบว่ากลุ่มตัวอย่างที่ดื่มน้ำประปาดื่มได้ จำนวน 199 คน (จากกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 260 คน) ให้เหตุผลที่ดื่มน้ำประปาดื่มได้ดังนี้ (เรียงจากเหตุผลที่ให้มากที่สุดไปน้อยที่สุด) 1. คิดว่าน้ำไม่ได้มาตรฐาน/ควรปรับปรุงคุณภาพก่อน จำนวน 2. ไม่ค่อยมั่นใจในความสะอาดของน้ำหรือแหล่งน้ำที่นำมาผลิตน้ำประปา จำนวน 3. ตนเองมั่นใจมาเคยดื่มน้ำจากก๊อกมาก่อน จำนวน 76.88% 4. กปภ. ยังให้ข้อมูลไม่เต็มที่/ข้อมูลไม่ชัดเจน จำนวน 76.38% (ขาดการประชาสัมพันธ์โครงการ) 5. น้ำมีสี จำนวน 6. ดื่มน้ำดื่มบรรจุขวด/มั่นใจในน้ำดื่มบรรจุขวดมากกว่า จำนวน 48.24% 2
สาเหตุที่ไม่ดื่ม (ต่อ) 7. มีทัศนคติ/ความรู้สึกที่ไม่ดีกับการดื่มน้ำประปา จำนวน 28.64% 8. ที่บ้านมีเครื่องกรองน้ำ จำนวน 25.63% 9. เป็นเรื่องสิทธิส่วนบุคคล จำนวน 16.58% 10. การดื่มน้ำประปาอาจทำให้เพื่อนบ้านมองว่ามีฐานะทางการเงินไม่ดี จำนวน 8.04% 50.75% 11. น้ำมีรสชาติไม่ดี จำนวน 12. น้ำมีกลิ่นคลอรีน จำนวน 17.08% 13. น้ำมีตะกอนขุ่นขาว จำนวน 13.75% 3
ควรขยายพื้นที่โครงการน้ำประปาดื่มได้หรือไม่ควรขยายพื้นที่โครงการน้ำประปาดื่มได้หรือไม่ กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ (จากจำนวนทั้งสิ้น 260 คน) คือ ร้อยละ 94.23 ต้องการให้ขยายพื้นที่โครงการน้ำประปาดื่มได้ ในขณะที่ ร้อยละ 5.77 ตอบว่าไม่แน่ใจ 4
ความเห็นเกี่ยวกับความไหลแรงของน้ำประปาความเห็นเกี่ยวกับความไหลแรงของน้ำประปา กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่คือ ร้อยละ 79.23 กล่าวว่าน้ำประปาไหลแรงดี ในขณะที่ ร้อยละ 16.54 กล่าวว่าน้ำไหลแรงพอใช้ และ ร้อยละ 4.23 เห็นว่าควรปรับปรุง 5
ความเห็นเกี่ยวกับความไหลต่อเนื่องของน้ำประปาความเห็นเกี่ยวกับความไหลต่อเนื่องของน้ำประปา กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่คือ ร้อยละ 72.30 กล่าวว่าน้ำประปาไหลต่อเนื่องดี ในขณะที่ ร้อยละ 21.54 กล่าวว่าน้ำไหลต่อเนื่องพอใช้ และ ร้อยละ 6.15 เห็นว่าควรปรับปรุง 6
วิเคราะห์ผลการศึกษา ในปี 2550 สัมภาษณ์ นายไพศาล มาลัยเล็ก ผจก.ป.บ้านโป่ง และนางรุ่งนภา หอมสกุล ผจก.ไพศาล เชื่อว่า มีลูกค้าของ ป.บ้านโป่ง ดื่มน้ำประปาของ กปภ. ไม่ต่ำกว่า 40%ของผู้ใช้น้ำทั้งหมด นางรุ่งนภา เชื่อว่ามีลูกค้าของ ป.สมุทรสงคราม ไม่ต่ำกว่า 20% ที่ดื่มน้ำประปาดื่มได้ 7
วิเคราะห์ผลการศึกษา (ต่อ) ป.บ้านโป่ง มีผู้ใช้น้ำประมาณ 9,000 ราย โดยเริ่มดำเนินกิจการประปา เมื่อปี 2499 ใช้น้ำจากแม่น้ำกลองเป็นแหล่งน้ำดิบ ป.สมุทรสงคราม มีผู้ใช้น้ำจำนวน 19,270 ราย ประกาศเป็นพื้นที่น้ำประปาดื่มได้ทั่วทั้งเขตจำหน่ายน้ำเหมือนกับ ป.บ้านโป่ง 8
วิเคราะห์ผลการศึกษา (ต่อ) เหตุผลที่ดื่ม 1. ราคาถูก (ถูกกว่าน้ำขวดประมาณ 1,000 เท่า ) 2. ประหยัด 3. สะดวก 4. ทราบจากการประชาสัมพันธ์ 9
วิเคราะห์ผลการศึกษา (ต่อ) เหตุผลที่ไม่ดื่ม 1. คิดว่าไม่ได้มาตรฐาน 2. ไม่มั่นใจ 3. ขาดการประชาสัมพันธ์ 4. รสชาติไม่ดี สู้น้ำจากขวดไม่ได้ 5. มีตะกอนขุ่นขาว 6. มีทัศนคติ หรือความรู้สึก 7. มีกลิ่นคลอรีน 10
วิเคราะห์ผลการศึกษา (ต่อ) ทัศนคติในการขยายพื้นที่โครงการ กลุ่มตัวอย่างประมาณ 94%กล่าวว่า กปภ. ควรขยายพื้นที่โครงการน้ำประปาดื่มได้ให้กว้างมากขึ้น 11
วิเคราะห์ผลการศึกษา (ต่อ) ความไหลแรงของน้ำประปา กลุ่มตัวอย่างประมาณ 79% เห็นว่าน้ำประปาดื่มไหลแรงดี 12
วิเคราะห์ผลการศึกษา (ต่อ) ความไหลต่อเนื่องของน้ำประปา กลุ่มตัวอย่างประมาณ 72% เห็นว่าน้ำประปาไหลต่อเนื่องดี ขณะที่ประมาณ 22% เห็นว่าน้ำประปาไหลต่อเนื่องพอใช้เท่านั้น ที่เหลืออีกประมาณ 6% เห็นว่าควรปรับปรุงการไหลต่อเนื่องของน้ำ 13
ข้อเสนอ 1. ทำประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง 2. ทำแบบประชาสัมพันธ์ 3. สร้างความมั่นใจ 4. ปรับปรุงสี กลิ่น รส 5. แจกน้ำฟรีในงานการกุศลต่างๆ งานสัมมนาที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม 14
สรุป ข้อร้องเรียนของลูกค้า กปภ. ไตรมาส 1/53 ด้านการร้องเรียนครั้ง% คิดเทียบเป็นจำนวนผู้ใช้น้ำ ของ กปภ. 1. การบริการ 798 43.89 2. ท่อแตก 2ลงมา 535 29.43 1,313,700 ราย 3. ท่อแตก >2ขึ้นไป 261 14.36 4. คุณภาพน้ำ 130 7.15 214,000 ราย 5. ร้องเรียน / ร้องทุกข์อื่นๆ 72 3.96 6. บุคลากร 16 0.88 7. ไม่เกี่ยวกับ กปภ. 6 0.33 1,818 100 15 ที่มาของข้อมูล : กองประเมินผลการดำเนินงาน
3.40 3.43 ตารางแสดงค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้ใช้บริการต่อคุณภาพน้ำประปา ของสำนักงานประปา ปี 2552 หน่วย : จำนวน ( ร้อยละ ) ความพึงพอใจต่อประสิทธิภาพในกระบวนการให้บริการ ความพึงพอใจ x S.D. พอใจมากที่สุด พอใจมาก ปานกลาง พอใจน้อย พอใจน้อยที่สุด คุณภาพของน้ำประปา ความใสของน้ำประปา 1,670 1,573 199 3.55 0.78 364 44 (43.4) (40.9) (5.2) (1.1) (9.5) 1,480 204 35 กลิ่นของน้ำประปา 314 1,817 0.76 3.48 (นอกจากกลิ่นคลอรีน) (8.2) (47.2) (38.4) (5.3) (0.9) รสชาติของน้ำประปา 1,576 170 40 113 1,951 0.67 (2.9) (50.7) (40.9) (4.4) (1.0) สีของน้ำประปา 1,766 220 101 1,711 52 0.70 (2.6) (1.4) (45.9) (44.4) (5.7) 256 46 น้ำไหลแรง 1,870 133 1,545 3.46 0.72 (3.5) (48.6) (40.1) (6.6) (1.2) น้ำไหลสม่ำเสมอ (24 ชั่วโมง) 1,829 274 1,526 3.44 0.76 71 150 (39.6) (7.1) (1.8) (3.9) (47.5) 16 วิจัยโดย : คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
SS (Suspended Solids) 2.65 ตกเอง , Centrifuge 10-3 สารห้อยแขวน (มีเฉพาะสีปรากฎ) Colloid สารส้ม + ปูนขาว สารกรอง (Filter) เช่น ทราย , แอนทราไซด์ 10-6 10-3 1.002 สารแขวนลอย 10-6 1.0 Dissolved Solids ไม่ตก แต่กำจัดได้โดยการ ดูดซับ (Adsorbtion) เช่น สารดูดซับ (Activated Carbon) สารละลาย Total Solids สาเหตุสำคัญและแนวทางแก้ไขสารเจือปนในน้ำ (อินทรีย์ + อนินทรีย์) ทำให้เกิด ความขุ่น กระบวนการ Process ทำให้เกิดสีจริง (มม.) ผลผลิตที่ได้ Solids SP (ถพ.) น้ำใส่ตุ่มทิ้งไว้ (มีสี กลิ่น ความขุ่น) Tap Water หรือClear Water (น้ำสะอาด) Palatable Water (น้ำสะอาด + อร่อย) 17
44 12 10.56 6 ml = 60 mg 6.63 0 1.7 Beaker 3 Pin Point 38 15 13.20 8 ml = 80 mg 6.52 0 1.7 Beaker 4 Laboratory : Chemical Coagulation of Water (Jar Test for Coagulation) Alum solution (1 ml = 10mg.alum) Carbon-dioxide (mg/l CO2) flocc Index Alkalinity (mg/l CaCO3) Acidity (mg/l CaCO3) Lime (mg) Turbidity FTU pH Sample Color - 126 13 11.44 Raw Water 7.50 50 92 2 ml = 20 mg 62 7 6.16 Beaker 1 7.26 4 2.4 54 9 7.92 4 ml = 40 mg 6.81 3 1.4 Beaker 2 36 20 17.60 10 ml = 100 mg 6.34 4 1.8 Beaker 5 5 28 25 22.00 12 ml = 120 mg 6.17 3.1 Beaker 6 18
กร๊าฟ 1 Alum Dosage & Color - Turbidity สี ความขุ่น Optimum Dose 1 4 5 2 3 6 Breaker NO. 19
Al2 (SO4)3 . 18H2O 2Al+3 + 3SO4-2+ H2O Al+3+ Colloid Al Colloid (ลดประจุลบ) 100 2Al+3+ 3H2O 2[ Al (OH)3 ]+ (ตะกอนเล็ก) 90 Al(OH)3++ Colloid Al (OH)3 Colloid (กลายเป็นตะกอนใหญ่) 80 70 CO2 + H2O H2CO3HCO-3 + H+ pH 7 60 Al2 (SO4)3+ 6H2O 2Al (OH)3+ 6H++ 3SO=4 ด่าง กรด 50 6 Alkalinity Al+3 + OH- AlO2- + H+ + H2O Al(OH)3 40 5 ( Alkalinity สูงขึ้น ) ( Alkalinity เหมาะสม ) ( Alkalinity ต่ำลง ) 30 4 pH สูงขึ้น pH เหมาะสม pH ต่ำลง 20 3 Acidity Al2(SO4)3+ 3Ca (OH)2 3CaSO4+ 2Al (OH)3 10 2 ( flocc) ( ปูนขาว ) 1 0 ถ้าไม่มีปูนขาว ปฎิกริยาจะเป็นดังนี้ หมายเหตุ โดยทั่วไป Alkalinity ที่เหมาะสม = 100 mg/l as CuCO3 pH ที่เหมาะสม 7.0 – 7.5 Al2 (SO4)3 . 18H2O + 3Ca (HCO3)2 2Al (OH3) + 3CaSO4+ 6CO2 + 18H2O Optimum Dose ( pH เหมาะสม ) กร๊าฟ 2 Alum Dosage VS Alkalinity , Acidity , pH Alkalinity & Acidity การลดประจุลบเพื่อเกิด Flocc ปฏิกริยา 80 100 120 20 40 60 Alum Dosage (mg/l) ก่อนเติม Alum 20
ข้อสรุป แนวทางแก้ไขปัญหา 1.ทำ JarTest ครั้งที่ 1 โดยใช้สารส้มเพื่อให้ได้ Optimum Dose จากนั้นจึงทำ JarTest ครั้งที่ 2 โดยใช้ Lime เพื่อเพิ่ม Alkalinity , Optimum pHจากนั้นจึงทำ JarTestครั้งที่ 3 เพื่อหา Optimum Dose ของสารส้มอีกครั้ง 2. ขณะเกิด Optimum Dose ในทางทฤษฎี สารส้ม 1 mg/l จะทำลายความเป็นด่างได้ 0.5 mg/l แต่ถ้าจะให้ความเป็นด่างคงที่ ต้องเติมปูนขาว 0.39 mg/l หรือ Optimum pH (7.0-7.5) ลักษณะของตะกอนจะได้ขนาด Pin Point 3. ผลิตน้ำประปาโดยใช้สารส้มและปูนขาวตามผล JarTest และได้ตะกอน Pin Point ที่ถังตกตะกอน 4. เมื่อตะกอนในถังตกตะกอนเต็มหลุมตะกอน ก็ต้องหมั่นระบายตะกอน 21
ข้อสรุป แนวทางแก้ไขปัญหา (ต่อ) 5. หมั่นปรับ Stroke ที่ตัว Rotameter ถ้า Rotameter เสียก็ต้องใช้วิธีคำนวณปริมาณ สารส้ม และปูนขาวจากผล JarTest ที่จะใช้ในแต่ละวันของการผลิตน้ำ และกำหนด อัตราการจ่ายสารเคมี ทั้งสารส้มและปูนขาวตามค่าเฉลี่ยที่จะจ่ายในแต่ละวัน เทียบกับ อัตราการสูบน้ำดิบ เพื่อจ่ายให้หมดตามที่คำนวณไว้ 6. โดยทั่วไป Alkalinity ที่เหมาะสมประมาณ 100 mg/ as CaCO3 ปริมาณสารส้ม ประมาณ 50 mg/l ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับผลการทำ JarTest เป็นสำคัญ 22