220 likes | 322 Views
เทคนิคการสัมภาษณ์ สาลินี เซ็นเสถียร. วัตถุประสงค์ * ใช้เทคนิคได้ถูกต้อง ได้ข้อมูลที่มีคุณภาพ (หมายเหตุ : ศึกษาคู่มือหน้า 17-1 9 ประกอบการบรรยาย). โครงการสำรวจพฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ พ.ศ.2553. สำรวจ 76 จังหวัด ทั้งประเทศ
E N D
เทคนิคการสัมภาษณ์สาลินี เซ็นเสถียร วัตถุประสงค์ * ใช้เทคนิคได้ถูกต้อง ได้ข้อมูลที่มีคุณภาพ (หมายเหตุ : ศึกษาคู่มือหน้า 17-19 ประกอบการบรรยาย)
โครงการสำรวจพฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ พ.ศ.2553 สำรวจ 76 จังหวัด ทั้งประเทศ (นับเป็นครั้งที่ 2 ที่สำรวจครบทุกจังหวัดทั้งประเทศนับจาก ปี 2548) กลุ่มตัวอย่างเพศชาย และหญิง :วัยแรงงาน อายุ 15-54 ปี :วัยสูงอายุ 55-74 ปี เก็บข้อมูล 1 เม.ย.-31 ก.ค.2553
แผนภูมิการสุ่มตัวอย่างแบบ Stratified two stage cluster sampling โครงการสำรวจพฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ พ.ศ.2553
บทบาทและหน้าที่ของผู้สัมภาษณ์บทบาทและหน้าที่ของผู้สัมภาษณ์ ต้องได้รับการชี้แจ้งรายละเอียด+วัตถุประสงค์ของข้อคำถามทุกข้อ และฝึกปฏิบัติ สร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ถูกสัมภาษณ์ ทำให้ผู้ถูกสัมภาษณ์ให้ความร่วมมือตอบอย่างจริงใจ+สนใจอย่างต่อเนื่องแม้คำถามบางข้อจะ Sensitive ต้องแน่ใจว่าผู้ถูกสัมภาษณ์ได้ยินและเข้าใจคำถามอย่างชัดเจน วางตัวเป็นกลาง ไม่แสดงออกซึ่งความเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยกับคำตอบ
ขั้นตอนและหลักการที่สำคัญสำหรับการสัมภาษณ์ขั้นตอนและหลักการที่สำคัญสำหรับการสัมภาษณ์ จัดสถานที่ให้เป็นส่วนตัว รู้สึกสบายใจว่ามีผู้รับฟังเพียงเฉพาะ ผู้สัมภาษณ์เท่านั้น ทักทายและแนะนำตนเองต่อผู้ถูกสัมภาษณ์ด้วยท่าทีที่ให้ความเคารพนับถือ ย้ำว่าข้อมูลที่ได้ถามผู้ถูกสัมภาษณ์จะเก็บเป็นความลับ อธิบายสั้น ๆ ถึงวัตถุประสงค์ของการสำรวจ คำนึงถึงอายุและพื้นฐานการศึกษาของผู้ถูกสัมภาษณ์ +กล่าวนำก่อนว่าจะมีคำถามอะไรอยู่ในการสัมภาษณ์ครั้งนี้ ย้ำให้ผู้ถูกสัมภาษณ์มั่นใจว่า ในการตอบคำถามนั้น ไม่มีผิด ไม่มีถูก แต่เป็นประโยชน์ในภาพรวมของประเทศ
ขั้นตอนและหลักการที่สำคัญสำหรับการสัมภาษณ์(ต่อ)ขั้นตอนและหลักการที่สำคัญสำหรับการสัมภาษณ์(ต่อ) บางข้ออาจมีคำตอบสั้นเพียงใช่หรือไม่ใช่เท่านั้น แต่จะมีรายละเอียดของคำถามเกี่ยวกับเรื่องนั้น ๆ ตามมาอีก เพื่อความชัดเจนของคำถาม ถ้าผู้ถูกสัมภาษณ์ไม่เข้าใจ ต้องถามอีกครั้งก่อนที่จะตอบ ต้องสัมภาษณ์ตามลำดับ ถ้าไม่เรียงจะมีคำสั่งอยู่ที่คำตอบว่าให้ข้ามไปตอบข้อใด เมื่อผู้ถูกสัมภาษณ์ยังไม่เข้าใจคำถาม (หรือตอบในแนวที่แสดงว่าไม่เข้าใจ) ให้ถามซ้ำ และยกตัวอย่างที่กำหนดไว้ให้ในแบบข้อถามนั้นๆ ใช้ภาพประกอบการตั้งคำถามเรื่องการออกกำลังกาย การกินผักผลไม้ และการดื่มเครื่องดื่มที่มีALเพื่อให้ผู้ถูกสัมภาษณ์มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น
ขั้นตอนและหลักการที่สำคัญสำหรับการสัมภาษณ์(ต่อ)ขั้นตอนและหลักการที่สำคัญสำหรับการสัมภาษณ์(ต่อ) อ่านคำถามที่ระดับกลาง (2 คำต่อวินาที) ถ้าพูดช้าเกินไปจะทำให้การสัมภาษณ์ยืดยาวโดยไม่จำเป็น และถ้าถามเร็วเกินไป ก็อาจทำให้ผู้ฟังเข้าใจผิดพลาดได้ ผู้สัมภาษณ์ต้องศึกษาวัตถุประสงค์หรือภูมิหลังของคำถามให้เข้าใจอย่างละเอียดจะพิจารณาหรือตัดสินได้ว่าคำตอบที่ได้เพียงพอหรือไม่ที่จะเป็นคำตอบที่เป็นจริง (คู่มือหน้า 23-37)
ขั้นตอนและหลักการที่สำคัญสำหรับการสัมภาษณ์(ต่อ)ขั้นตอนและหลักการที่สำคัญสำหรับการสัมภาษณ์(ต่อ) อย่าถามนำ : หยุดถามสักครู่ หรือทำท่ารีรอ มองผู้ถูกสัมภาษณ์เพื่อรอคำตอบโดยให้ผู้ถูกสัมภาษณ์ขยายความให้มากขึ้น หรือใช้คำถามที่เป็นกลางต่อไปนี้ คือ “ท่าน / คุณ หมายความว่าอย่างไร ? ” “กรุณาช่วยบอกด้วยว่า ท่าน / คุณ ยังมีอะไรอยู่ในใจอีก” หรือทบทวนในสิ่งที่ผู้ถูกสัมภาษณ์เพิ่งพูดเสร็จ จะช่วยกระตุ้นให้ผู้ถูกสัมภาษณ์คิดมากขึ้น อาจมีคำตอบที่ชัดเจนขึ้นตามมา อย่าลืมขอบคุณ เมื่อเสร็จข้อสุดท้าย
หลักทั่วไปในการเก็บตัวอย่าง สัมภาษณ์บุคคลที่ถูกสุ่มตัวอย่างตามรายชื่อหลัก เป็นลำดับแรก ในกรณีที่ไม่สามารถเก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์ตามรายชื่อหลักได้ เช่น บุคคลตัวอย่างหลักรายดังกล่าวได้เสียชีวิต ย้ายที่อยู่ พิการ หรือไม่ยินยอมให้ข้อมูล ผู้เก็บข้อมูลสามารถเลือกบุคคลตัวอย่างได้จากบัญชีรายชื่อชุดสำรองแทน
หลักการเลือกรายชื่อจากกลุ่มสำรอง (เพิ่มเติมจากคู่มือหน้า 19)
หลักการเลือกรายชื่อจากกลุ่มสำรอง (ต่อ) 12
หลักการเลือกรายชื่ออื่น(เนื่องจากรายชื่อกลุ่มสำรองหมด)หลักการเลือกรายชื่ออื่น(เนื่องจากรายชื่อกลุ่มสำรองหมด) เมื่อเลือกจนรายชื่อในชุดสำรองหมด ให้หาคนที่อยู่ในกลุ่มอายุเดียวกันเพศเดียวกันและต้องอยู่ในหมู่บ้านเดียวกันกับรายชื่อชุดจริงที่จะแทน ตามหลักเกณฑ์ในตรารางต่อไปนี้
หลักการเลือกรายชื่ออื่น (เพิ่มเติมจากคู่มือหน้า 20)
หลักการเลือกรายชื่ออื่น (ต่อ) 15
ข้อยุติในการเก็บตัวอย่าง ถ้าหากหาไม่ได้เลยแม้แต่คนเดียวตามเกณฑ์ที่กล่าวมา ก็ให้ยุติเพียงเท่านั้น สำหรับ clusterนั้นๆ ห้าม!!!ไปเลือกคนจากหมู่บ้านอื่นมาแทนเด็ดขาด ต้องบันทึกในแบบสรุปสาเหตุที่เก็บข้อมูลไม่ได้ส่งให้ศูนย์ข้อมูลฯพร้อมกับการจัดส่งแบบสัมภาษณ์ที่ตอบแล้วกลับส่วนกลาง
หลักการบันทึกข้อมูล(คู่มือ หน้า 20) ก่อนเริ่มดำเนินการต้องลงทะเบียน +ตรวจสอบคุณสมบัติของหน่วยตัวอย่าง +ลงทะเบียนโดยใช้ใบลงทะเบียนที่ส่วนกลางได้จัดส่งให้ ตามบัญชีรายชื่อบุคคลตัวอย่าง * สีเหลืองสำหรับกลุ่มอายุ 15-54 ปี * สีชมพูสำหรับกลุ่มอายุ 55-74 ปี ใช้ดินสอดำ 3B ที่ส่วนกลางจัดส่งให้เท่านั้น (ไม่ต้องไปหาซื้อใหม่) สำหรับบันทึกข้อมูลทั้งการเลือกตอบข้อย่อยและการเขียนข้อความ ถ้าผิดให้ใช้ยางลบลบ ห้ามใช้น้ำยาลบหมึก ตรวจสอบทุกครั้งว่าบันทึกได้ครบตามข้อข้าม-ไม่ข้าม หรือไม่? โดยเฉพาะส่วนที่ 0 ทุกครั้งที่ผ่านมาส่วนนี้บันทึกไม่ครบทำให้วิเคราะห์ข้อมูลช้า
ประโยชน์ที่ สสจ. สคร. ได้รับจากการสำรวจ BRFSS มีรายงานผลการสำรวจพฤติกรรมเสี่ยงโรค NCD+การบาดเจ็บ + การรับบริการ+ฯลฯ ในระดับประชากรจากเดิมที่ไม่เคยมีมาก่อนในประเทศไทย เพื่อนำไปใช้ในการกำหนดยุทธศาสตร์+วางแผน+ประเมินผลอย่างมี evidence base ได้ความรู้และประสบการณ์ในการบริหารจัดการโครงการสำรวจตัวอย่าง เชื่อมสัมพันธ์เครือข่าย+ได้ผลการสำรวจโดยไม่ต้องจัดหางบประมาณเพิ่ม สามารถนำข้อมูลดิบจากการสำรวจไปวิเคราะห์ขยายผล หรือศึกษาแนวโน้ม ลดภาระการทำงานระบบทะเบียน 18
รายงาน BRFSS พ.ศ.2547(ฉบับปรับปรุง)
รายงาน BRFSS พ.ศ.2548 (ฉบับภาษาไทย และภาษาอังกฤษ)
รายงาน BRFSS พ.ศ.2550 (ฉบับภาษาไทย และภาษาอังกฤษ)