240 likes | 587 Views
การจัดทำ แผนการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ. ประเด็นนำเสนอ 1. วัตถุประสงค์การนำเสนอคณะกรรมการลุ่มน้ำ 2. คำสั่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติ 3. ปฏิทินการดำเนินงานของคณะอนุกรรมการฯ กลุ่ม 2 4. กรอบแนวคิดกระบวนการจัดทำแผนฯ 5 ขั้นตอน 5. กำหนดการรับฟัง (ความคิดเห็น) สภาพปัญหา
E N D
การจัดทำ แผนการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ
ประเด็นนำเสนอ 1. วัตถุประสงค์การนำเสนอคณะกรรมการลุ่มน้ำ 2. คำสั่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติ 3. ปฏิทินการดำเนินงานของคณะอนุกรรมการฯ กลุ่ม 2 4. กรอบแนวคิดกระบวนการจัดทำแผนฯ 5 ขั้นตอน 5. กำหนดการรับฟัง (ความคิดเห็น) สภาพปัญหา ในพื้นที่ทั้งกลุ่ม 1 และกลุ่ม 2 (โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ) 6. รายละเอียดโครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ
1.วัตถุประสงค์ในการนำเสนอคณะกรรมการลุ่มน้ำ1.วัตถุประสงค์ในการนำเสนอคณะกรรมการลุ่มน้ำ 1.1 เพื่อให้คณะกรรมการลุ่มน้ำ รับทราบ ความเป็นมา กรอบแนวคิดในการ จัดทำแผนฯ ก่อนที่คณะอนุฯ กลุ่ม 1 และ 2 มารับฟังความคิดเห็นในพื้นที่ 1.2 เตรียมสภาพปัญหาในพื้นที่ / แผนการแก้ไขปัญหา เพื่อเสนอหาก การจัดทำแผนฯ ที่นำมารับฟัง ความคิดเห็นไม่ตรงกับพื้นที่
2. คำสั่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 85/2557 ลงวันที่ 3 กรกฎาคม 2557 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการกำหนดนโยบาย และการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ จัดทำนโยบายและการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำของประเทศ • แต่งตั้งคณะอนุกรรมการฯ 5 กลุ่ม ประกอบด้วย • กลุ่ม 1 คณะอนุกรรมการพัฒนาและบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ • ในพื้นที่ภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก (ชป.) • กลุ่ม 2 คณะอนุกรรมการพัฒนาและบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ • ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้ (ทน.) • กลุ่ม 3 คณะอนุกรรมการจัดการระบบข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจ • กลุ่ม 4 คณะอนุกรรมการพัฒนาและบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ • เกี่ยวกับการจัดองค์กร และการออกกฎ • กลุ่ม 5 คณะอนุกรรมการด้านการประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วม
คณะอนุกรรมการฯ กลุ่ม 1 และกลุ่ม 2 มีอำนาจหน้าที่ที่สำคัญดังนี้ จัดทำแผนงานและโครงการในการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำในพื้นที่ (กลุ่ม 1 พื้นที่ภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก และกลุ่ม 2 พื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต้) เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการกำหนดนโยบายและการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ เสนอแนะแนวทางการดำเนินการ เพื่อแก้ไขปัญหา และวิธีการดำเนินการ พร้อมทั้งผลกระทบที่จะได้รับจากการดำเนินการ รวมทั้งให้จัดลำดับความเร่งด่วนในการแก้ไขปัญหา เสนอแนะโครงการที่จะดำเนินการเพื่อแก้ไขปัญหา พร้อมทั้งจัดลำดับความเร่งด่วน และผลกระทบที่จะได้รับการโครงการ เสนองบประมาณโดยสังเขป ตามความเร่งด่วน พร้อมส่วนราชการที่รับผิดชอบ
3. ปฏิทินการดำเนินงานของคณะอนุกรรมการฯ กลุ่ม 2
4. กรอบแนวคิด กระบวนการจัดทำแผน 5 ขั้นตอน 1. ระยะเร่งด่วน 2. ระยะสั้น 3. ระยะกลาง 4. ระยะยาว ระบบลุ่มน้ำ/การมีส่วนร่วม เชิงรุก เชิงรับ 1. กลุ่มแก้ปัญหาภัยแล้ง 2. กลุ่มบรรเทาน้ำท่วม 3. กลุ่มจัดการคุณภาพน้ำ (ขนาดเล็ก กลาง ใหญ่) 1. ใช้สิ่งก่อสร้าง 2. ไม่ใช้สิ่งก่อสร้าง 1. ภาพรวมทั้งลุ่มน้ำ (ตอนบน ตอนกลาง และตอนล่าง) 2. จากธรรมชาติ/มนุษย์ 3.ปัจจัยภายนอก ภายใน (SWOT) 1. ปัญหาอะไร (เหมาะสมตามกาลสมัย) 2. ความชัดเจน (สถานที่ ขนาด เวลา ความถี่ และผลกระทบ) 3. จะแก้หรือไม่ (ภูมิกายภาพ สังคม)
กระบวนการจัดทำแผนบริหารจัดการน้ำกระบวนการจัดทำแผนบริหารจัดการน้ำ หลักเกณฑ์ ตำแหน่ง/ช่วงเวลา/ความถี่ผลกระทบ (มูลค่า-ความเสียหาย) ภัยแล้ง น้ำท่วม คุณภาพน้ำ 1.ชี้ปัญหา การมีส่วนร่วม 1.อุปโภคบริโภค 2.รักษานิเวศ 3.เกษตร 4.อุตสาหกรรม 1.พื้นที่เศรษฐกิจ 2.ชุมชนเมือง 3.พื้นที่เกษตร 1. น้ำเสีย 2.น้ำเค็ม วิธีวิเคราะห์ สถิติ-แนวโน้ม SWOT มนุษย์ ธรรมชาติ 2.วิเคราะห์สาเหตุ การใช้ที่ดิน(เกษตร-ป่าไม้)ประชากร/เศรษฐกิจสังคม ภูมิกายภาพลุ่มน้ำ อุตุ อุทก - น้ำบาดาล 3.ยุทธศาสตร์ ไม่ใช้สิ่งก่อสร้าง: 1.ประสิทธิภาพการใช้น้ำต้นทุน 2.ระบบฐานข้อมูล 3.บริหารจัดการแหล่งเก็บกักน้ำ 4.บริหารจัดการอุทกภัย 5.กำหนดZoning (ภาคเกษตร/อุตสาหกรรม/ชุมชน)6.การจัดการพืชคลุมดิน 7.ฟื้นฟูต้นน้ำ 8.ติดตามคุณภาพน้ำ 9.ติดตามประเมินผลการบริหารจัดการน้ำ 10.การบริหารจัดการเชิงนโยบาย/กฎหมาย 11.การจัดการองค์กรและการมีส่วนร่วม ภัยแล้ง / น้ำท่วม/คุณภาพน้ำ กลยุทธ ใช้สิ่งก่อสร้าง: 1.จัดหาแหล่งกักเก็บน้ำ 2.จัดหาน้ำ 3.เพิ่มเสถียรภาพน้ำต้นทุน 4.นำน้ำมาใช้ประโยชน์ 5.ระบบกระจายน้ำ 6.เพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ำ 7.ระบบป้องกันน้ำท่วม 8.ปรับปรุงประสิทธิภาพโครงการ 9.แผนบริหารจัดการน้ำอุปโภค-บริโภค มาตรการ เชิงรุก กลุ่มแก้ปัญหาภัยแล้ง กลุ่มบรรเทาน้ำท่วม กลุ่มจัดการคุณภาพน้ำ 4.จัดกลุ่มโครงการ เชิงรับ ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่ 5.แผนบริหารจัดการน้ำ แผนงาน ดำเนินการ ศึกษา สวล. ออกแบบ ก่อสร้าง ที่ตั้ง/พท.รับประโยชน์/ ผลกระทบ/ผลสัมฤทธิ์/ระยะเวลา ตัวชี้วัด เป้าหมาย เร่งด่วน (58) สั้น (59) กลาง (60-64) ยาว (65ขึ้น)
1.1 ชี้ปัญหาภัยแล้ง การวิเคราะห์ปัญหาภัยแล้ง พื้นที่ภัยแล้งด้านเกษตร พด./ สสนก. ทน./สสนก. พื้นที่ภัยแล้งอุปโภคบริโภค สสนก./ปภ. สสนก./ปภ. 915 ตำบล พด. พด./ทน. 915 ตำบล ตำแหน่ง ปภ./ชป. ปภ./ทน. 26 -120 ล้านไร่ ช่วงเวลา ความถี่ ตำแหน่ง สสนก./กรอ. ทน./ชป. รักษาระบบนิเวศ พื้นที่ภัยแล้ง ด้านอุตสาหกรรม ผลกระทบ ช่วงเวลา สสนก./ปภ. ทน./ชป. ความถี่ กรอ. ชป. ผลกระทบ กรอ./ปภ. ปริมาณน้ำ 28,533 ล้าน ลบ.ม./ปี 4,619 ล้าน ลบ.ม./ปี
1.2 ชี้ปัญหาน้ำท่วม ปริมาณความเสียหาย พื้นที่เศรษฐกิจและชุมชน 0.171 ล้านไร่ พื้นที่เกษตร 4.99 ล้านไร่ การวิเคราะห์ปัญหาอุทกภัย พื้นที่อุทกภัยเขตเศรษฐกิจ กทม./สสนก. พด./สสนก. พื้นที่อุทกภัยเทศบาลนคร กทม./สสนก. สสนก./ปภ. กทม./พด. พด. ตำแหน่ง ตำแหน่ง กทม./ปภ. ปภ. ช่วงเวลา ช่วงเวลา ความถี่ ความถี่ พด./สสนก. พื้นที่อุทกภัยด้านเกษตร พื้นที่อุทกภัยเทศบาลตำบล/เมือง พด./สสนก. ผลกระทบ ผลกระทบ สสนก./ปภ. สสนก./ปภ. พด. พด. ปภ./ชป. ปภ./ชป.
1.3 ชี้ปัญหาคุณภาพน้ำและระดับความรุนแรง คุณภาพน้ำ แบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ น้ำเสียและน้ำเค็ม ดัชนีคุณภาพน้ำแหล่งน้ำผิวดิน (Water Quality Index: WQI) พิจารณาจาก ค่าคุณภาพน้ำ 5 พารามิเตอร์ ได้แก่ ออกซิเจนละลาย ความสกปรกในรูปสารอินทรีย์ แบคทีเรียกลุ่มโคลิฟอร์มทั้งหมด แบคทีเรียกลุ่มฟีคอลโคลิฟอร์ม และแอมโมเนีย – ไนโตรเจน
การเฝ้าระวัง ติดตาม และตรวจสอบคุณภาพน้ำด้านความเค็ม ในช่วงฤดูแล้ง ระหว่างเดือนมกราคม ถึงเดือนมิถุนายนของทุกปี ไม่ให้น้ำทะเลรุกล้ำเข้ามาทำอันตรายหรือทำให้เกิดผลกระทบต่อการเกษตร การประปา ชี้ปัญหาคุณภาพน้ำ (น้ำเค็ม) 1.3 เกณฑ์ค่าความเค็ม แม่น้ำเจ้าพระยา ลุ่มน้ำที่ต้องเฝ้าระวัง 1. การเกษตรมีค่าความเค็มไม่เกิน 2.0 กรัม/ลิตร 2. การผลิตประปามีค่าความเค็มไม่เกิน 0.25 กรัม/ลิตร
(2)การวิเคราะห์สาเหตุ วิเคราะห์ข้อมูลร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ข้อมูลเชิงสถิติ ข้อมูลเชิงแผนที่ 1.กายภาพลุ่มน้ำ 2.อุตุ-อุทกวิทยา 3.ดินและการใช้ประโยชน์ที่ดิน 4.ป่าไม้และชั้นคุณภาพลุ่มน้ำ 5.ประชากร เศรษฐกิจ สังคม 6.โครงการพัฒนาแหล่งน้ำในปัจจุบัน 7.ความต้องการใช้น้ำ 8.สถานการณ์ภัยแล้ง 9.สถานการณ์น้ำท่วม 10.คุณภาพน้ำ ยุทธศาสตร์และมาตรการแก้ไขปัญหา
ตัวอย่างการวิเคราะห์ข้อมูลน้ำท่วมตัวอย่างการวิเคราะห์ข้อมูลน้ำท่วม พื้นที่และระดับความรุนแรง จาก พด. พื้นที่เสี่ยงภัยน้ำท่วมเป้าหมาย ผลกระทบ/ความเสียหายจาก ปภ. พื้นที่และปริมาณน้ำท่วม ของ GISTDA
ตัวอย่างการวิเคราะห์ปัญหาน้ำเสีย ตัวอย่างการวิเคราะห์ปัญหาน้ำเค็ม ข้อมูลเพิ่มเติม 1. ข้อมูลจุดที่เกิดปัญหา/ความถี่ จาก คพ. 2. ข้อมูลพารามิเตอร์ จุดที่เกิด ปัญหา/ความถี่ จาก คพ. ปากคลองสำแล จังหวัดปทุมธานี เกณฑ์เพื่อผลิตประปา 0.25 กรัม/ลิตร ท่าน้ำนนท์ จังหวัดนนทบุรี เกณฑ์เพื่อการเกษตร 2 กรัม/ลิตร
(3) ยุทธศาสตร์แก้ไขปัญหา บรรเทา ปัญหาน้ำท่วม แก้ปัญหาภัยแล้ง แก้ปัญหาคุณภาพน้ำ ไม่ใช้สิ่งก่อสร้าง : 1.บริหารจัดการน้ำแล้ง-น้ำหลาก-คุณภาพน้ำ 2.ฟื้นฟูป่าต้นน้ำ3.พืชคลุมดิน 4.zoning (เกษตร-อุตสาหกรรม) 5.ปรับระบบปลูกพืช 5.3R6.ระบบเฝ้าระวังคุณภาพน้ำ 7.พยากรณ์/เตือนภัย 8.ระบบฐานข้อมูลบริหารจัดการน้ำ 9.ระบบติดตามประเมินผล 10.หน่วยงาน/องค์กรบริหารจัดการน้ำในทุกระดับ 11.นโยบาย/กฎหมาย 12.ประชาสัมพันธ์ 13.ตั้งหน่วยงานบริหารจัดการอุทกภัย ใช้สิ่งก่อสร้าง: 1.จัดหาแหล่งเก็บกักน้ำ 2.โครงข่ายน้ำ 3.ระบบส่งน้ำ 4.ปรับปรุงประสิทธิภาพโครงการ 5.เพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ำ 6.แก้มลิง 7.เติมน้ำลงใต้ดิน8.ผันน้ำ/ช่องลัด 9.แผนบริหารจัดการน้ำอุปโภค-บริโภค 10.ระบบป้องกันน้ำท่วม 11.ระบบบำบัดน้ำเสีย 12.ระบบป้องกันน้ำเค็ม 13.ย้าย/พัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจใหม่
(4) จัดกลุ่มโครงการ การรับฟังความคิดเห็น ขนาดเล็ก กลุ่มแก้ปัญหาภัยแล้ง ขนาดกลาง เชิงรุก กลุ่มบรรเทาน้ำท่วม เชิงรับ ขนาดใหญ่ กลุ่มจัดการคุณภาพน้ำ
(5) แผนบริหารจัดการน้ำ ตัวชี้วัด 1. แก้ปัญหาตรงจุด 2. แก้ปัญหาอย่างยั่งยืน 3. เหมาะสม (ผลประโยชน์-ผลกระทบ-ประหยัด) 4. ผลสัมฤทธิ์ของโครงการ (output / outcome) 5. แผนบริหารจัดการน้ำ 58 59 60 - 64 แผนงาน เป้าหมาย 65 ขึ้นไป ดำเนินการ ระยะแผน +เร่งด่วน +สั้น +กลาง +ยาว ศึกษา สวล. ออกแบบ ก่อสร้าง
5. กำหนดการรับฟังความคิดเห็นในพื้นที่
6. รายละเอียดโครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การรับฟังสภาพปัญหาของลุ่มน้ำ เพื่อยกร่างแผนการบริหารจัดการ ทรัพยากรน้ำ” พื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ ภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก วัตถุประสงค์ 1. เพื่อรับฟังสภาพปัญหาของลุ่มน้ำ สาเหตุและแนวทางแก้ไขปัญหา ในแต่ละลุ่มน้ำ เพื่อนำมาประกอบการยกร่างแผนฯ 2. เพื่อยกร่างแผนการบริหารจัดการน้ำพื้นที่ภาตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ ภาคเหนือ ภาคกลางและภาคตะวันออก กลุ่มเป้าหมาย ตัวแทนคณะกรรมการลุ่มน้ำ ทั้ง 25 ลุ่มน้ำ/หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง วิธีการ 1. นำเสนอกรอบแนวคิดการจัดทำแผนฯ 2. แบ่งกลุ่มย่อยตามลุ่มน้ำ เพื่อวิเคราะห์ปัญหา 3. ยกร่างยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาตามกลุ่มลุ่มน้ำย่อย 4. สรุปผลภาพรวมในระดับลุ่มน้ำ 5. สรุปผลภาพรวมในระดับภาค