280 likes | 611 Views
เศรษฐศาสตร์ แรงงาน EC 471 การ กำหนดค่าจ้างและการจัดสรรแรงงาน. รองศาสตราจารย์ ดร. ภาวดี ทองอุไทย สิงหาคม 2552. หัวข้อ. ดุลยภาพในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ การจัดสรรแรงงานอย่างมีประสิทธิภาพ แรงงาน และ หน่วยผลิตได้รับผลประโยชน์รวมสูงสุด นโยบายสาธารณะ ภาษี และ เงินอุดหนุน ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์
E N D
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 การกำหนดค่าจ้างและการจัดสรรแรงงาน รองศาสตราจารย์ ดร. ภาวดี ทองอุไทย สิงหาคม 2552
หัวข้อ • ดุลยภาพในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ • การจัดสรรแรงงานอย่างมีประสิทธิภาพ • แรงงาน และ หน่วยผลิตได้รับผลประโยชน์รวมสูงสุด • นโยบายสาธารณะ • ภาษี และ เงินอุดหนุน • ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ • ตลาดผูกขาดด้านผู้ซื้อแรงงาน(Monopsony) • ตลาดผูกขาดด้านผู้ขายสินค้า (Monopoly)
ลักษณะของดุลยภาพในตลาดแรงงานที่มีการแข่งขันลักษณะของดุลยภาพในตลาดแรงงานที่มีการแข่งขัน • การแลกเปลี่ยนระหว่างแรงงานและหน่วยผลิต ประโยชน์ต่อเศรษฐกิจรวม • เส้นอุปสงค์แรงงาน แสดง มูลค่าของผลผลิตหน่วยสุดท้าย value of marginal product (VMP) พื้นที่ภายใต้เส้นอุปสงค์แรงงาน = มูลค่าของผลผลิตรวมvalue of total product รายรับรวม = ผลรวมของ VMPs กำไรของหน่วยผลิต = ส่วนเกินของผู้ผลิต Producer surplus = สามเหลี่ยม P
เส้นอุปทานแรงงาน: แสดงถึงค่าจ้างที่ จำเป็นในการจูงใจ ให้คนเข้าสู่ตลาดแรงงาน พื้นที่ภายใต้เส้นอุปทาน= มูลค่ารวมของ ค่าเสียโอกาส ของคนงานที่เพิ่มเข้ามาในตลาด ผลประโยชน์ต่อคนงาน = ความแตกต่างระหว่าง: - สิ่งที่คนงานได้รับ ณ ระดับค่าจ้างดุลยภาพ w*กับ - มูลค่าของ เวลา ของคนงาน ถ้าอยู่นอกตลาดแรงงาน ส่วนเกินของคนงาน = สามเหลี่ยม Q
ผลประโยชน์จากการแลกเปลี่ยน และ การจัดสรรอย่างมีประสิทธิภาพ • ผลประโยชน์รวมจากการแลกเปลี่ยน = ส่วนเกินของผู้ผลิต (producer surplus) + ส่วนเกินของแรงงาน (worker surplus) = พื้นที่ P+Q • ในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ผลประโยชน์จากการแลกเปลี่ยนจะอยู่ในระดับสูงสุด • การจัดสรรอย่างมีประสิทธิภาพ= การจัดสรรแรงงานไปให้แก่หน่วยผลิตที่ส่งผลให้เกิดผลประโยชน์จากการแลกเปลี่ยนสูงสุด • ดุลยภาพในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ การจัดสรรแรงงานอย่างมีประสิทธิภาพ
ดุลยภาพในตลาดแข่งขัน ที่มีสองตลาด • ตลาดแรงงานสองแห่งจ้างแรงงานที่มีทักษะคล้ายกัน ทดแทนกันได้อย่างสมบูรณ์ • ถ้าค่าจ้างระหว่างสองตลาดแตกต่างกัน จะอยู่ไม่ได้นานเพราะ • แรงงานในตลาดที่ค่าจ้างต่ำกว่าจะโยกย้าย เพื่อไปสู่ที่ซึ่งจะได้ค่าจ้างสูงกว่า ได้อรรถประโยชน์สูงกว่า เส้นอุปทานแรงงานเคลื่อน • หน่วยผลิตก็จะย้ายเช่นกัน เพื่อหาประโยชน์จากค่าจ้างที่ต่ำกว่า เส้นอุปสงค์แรงงานเคลื่อน
นโยบายรัฐในตลาดแรงงานนโยบายรัฐในตลาดแรงงาน • จะเกิดอะไรขึ้นต่อค่าจ้างและการจ้างงาน เมื่อ รัฐเก็บภาษีค่าจ้าง • กรณีที่เก็บภาษีจากนายจ้าง • หน่วยผลิตจะต้องจ่าย ภาษี $1 ต่อคนงานทุกคนที่จ้างเข้ามา • จะบวกเพิ่มเข้าไปในค่าจ้าง ($10 + $1) • ค่าจ้างที่จ่ายจะเพิ่มเป็น W0– 1 จ้างคนงาน E0 เส้นอุปสงค์แรงงานจะเคลื่อนลงข้างล่าง • ภาษีค่าจ้างจะทำให้ค่าจ้างที่คนงานได้รับต่ำลงW0 W1 • เพิ่มต้นทุนของการจ้างคนงานจาก W0 W1+1
กรณีที่เก็บภาษีจากคนงานกรณีที่เก็บภาษีจากคนงาน • ถ้าคนงานต้องจ่ายภาษี $1 สำหรับแต่ละชั่วโมงที่ทำงาน • จะเรียกร้องให้นายจ้างจ่ายค่าจ้างเพิ่มเป็น W0+ $1 เส้นอุปทานแรงงานจะเคลื่อนขึ้น $1 • คนงานได้รับค่าจ้าง W1 • ปริมาณการจ้างงานลดลง • ค่าจ้างหลังภาษีลดลง W0 W1-1 • อิทธิพลของความยืดหยุ่นของอุปทาน • ถ้าอุปทานมีความยืดหยุ่นสมบูรณ์ ภาษีจะถูกผลักภาระให้คนงานทั้งหมด
Deadweight loss • ไม่ว่าจะเก็บภาษีจากหน่วยผลิต หรือ จากคนงานโดยตรง ก็มีผลเช่นเดียวกัน • การจ้างงานลด ต้นทุนการจ้างคนงานเพิ่ม เงินเข้ากระเป๋าลด • ดุลยภาพหลังภาษี ไม่มีประสิทธิภาพ • คนงานไม่ได้รับการจ้างงาน ณ ระดับที่ ผลประโยชน์รวมจากการแลกเปลี่ยนในตลาดแรงงานมีปริมาณสูงสุด • ภาษีการจ้างงาน deadweight loss หรือ ภาระส่วนเกิน excess burden
Deadweight loss • Deadweight loss วัดมูลค่าของผลประโยชน์ที่ต้องเสียสละไป • เพราะภาษีบังคับให้นายจ้างต้องลดการจ้างงานลงต่ำกว่าระดับที่มีประสิทธิภาพ • ทั้งนี้ โดยไม่ได้เกี่ยวกับค่าใช้จ่ายในการตามเก็บภาษีนั้นๆ • Deadweight loss เกิดขึ้นเพราะ: • ภาษีทำให้แรงงานบางคน ไม่ได้งานทำ • ประโยชน์บางส่วนที่น่าจะเกิดกับสังคมก็เลยสูญหายไป • VMP ของคนงาน >มูลค่าของเวลานอกตลาดแรงงานของคนงานคนนั้น
การอุดหนุน (subsidy)สำหรับการจ้างงาน • รัฐอาจให้เงินอุดหนุน เพื่อสนับสนุนให้หน่วยผลิตจ้างคนงานเพิ่มขึ้น • ช่วยลดต้นทุนการจ้างคนงาน • เช่น ให้เครดิตภาษี สำหรับคนงานแต่ละคนที่หน่วยผลิตจ้างเพิ่ม($1) เส้นอุปสงค์แรงงานจะเคลื่อนขึ้นข้างบน $1 • ทำให้มีการจ้างงานมากขึ้น • เงินเข้ากระเป๋าคนงานเพิ่มขึ้น จาก W0เป็น W1 • ค่าจ้างที่หน่วยผลิตจ่าย ลดจาก W0เป็นW1 - $1 • ขนาดของผลกระทบ ขึ้นอยู่กับ • ความยืดหยุ่น ของ อุปทาน และ อุปสงค์
ผู้ผูกขาดที่สามารถแบ่งแยกแรงงานได้ชัดเจนผู้ผูกขาดที่สามารถแบ่งแยกแรงงานได้ชัดเจน • มีเส้นอุปทานแรงงาน ลาดขึ้น หรือ เส้นอุปทานของตลาด • จ้างคนงาน ด้วยอัตราค่าจ้างที่ต่างกัน • เส้นอุปทานแรงงาน = เส้นmarginal cost • ไม่มีอิทธิพลต่อ ราคา ผลผลิต • ขายเท่าไรก็ได้ตามต้องการ ณ ราคาที่ตลาดกำหนด p
หน่วยผลิตที่ต้องการกำไรสูงสุด อาจจ้างคนงานจนถึงจุดที่: • มูลค่าของแรงงานหน่วยสุดท้าย = ต้นทุนของการจ้างคนงานนั้น • w* ไม่ใช่ค่าจ้างระดับแข่งขัน(competitive wage) • เป็นค่าจ้างที่ผู้ผูกขาดการซื้อแรงงานต้องจ่าย เพื่อจูงใจแรงงานหน่วยสุดท้ายที่จ้างมา • คนงานอื่นๆ จะได้รับ = ค่าจ้างสำรองreservation wage ของแต่ละคน
ผู้ผูกขาดที่ไม่สามารถแบ่งแยกคนงานได้ • จ่ายค่าจ้างเท่ากันหมด ไม่ว่า ค่าจ้างสำรองของแต่ละคนจะเป็นเท่าใด • เมื่อผลิตเพิ่ม ต้นทุนหน่วยสุดท้ายเพิ่มเร็วกว่าค่าจ้าง • เส้นต้นทุนหน่วยสุดท้ายอยู่เหนือกว่าเส้นอุปทาน • ผู้ผูกขาดที่แสวงหากำไรสูงสุดจ้างคนงานจนถึงจุดที่ ต้นทุนของการจ้างแรงงานหน่วยสุดท้าย= มูลค่าของผลผลิตหน่วยสุดท้าย • จ้างคนงานน้อยกว่าในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ • ค่าจ้าง<ค่าจ้างแข่งขัน <มูลค่าของผลผลิตหน่วยสุดท้ายของแรงงาน • แรงงานจะถูก เอาเปรียบ ‘exploited’
ค่าจ้างขั้นต่ำ และ ผู้ผูกขาดที่ไม่สามารถแบ่งแยกคนงานได้ • การบังคับใช้ค่าจ้างขั้นต่ำ ในตลาดผูกขาดด้านผู้ซื้อแรงงาน จะเพิ่มทั้งค่าจ้าง และ การจ้างงาน • ผู้ผูกขาดที่มุ่งกำไรสูงสุด จะต้องการ ให้ ต้นทุนหน่วยสุดท้ายของการจ้างงาน (marginal cost of hiring) มีมูลค่าเท่ากับ ผลผลิตหน่วยสุดท้ายของแรงงาน (marginal product of labour) • ไม่มีการว่างงานเกิดขึ้น • ทุกคนที่อยากทำงาน และเต็มใจยอมรับค่าจ้างขั้นต่ำ จะได้งานทำ • ค่าจ้างขั้นต่ำที่ออกแบบได้เหมาะสม จะสามารถกำจัดอำนาจในตลาดของผู้ผูกขาดได้ และ ป้องกันไม่ให้มีการเอาเปรียบแรงงาน
ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์: ผูกขาดด้านการขายผลผลิต (monopoly) • ผู้ผูกขาด สามารถมีอิทธิพลในการตั้งราคาขาย • เมื่อขยายผลผลิต ราคาขายจะลดลง • รายได้หน่วยสุดท้าย Marginal revenue ไม่เท่ากับ ราคาของสินค้า output price p • เส้น MR ลาดลง และ อยู่ต่ำกว่าเส้นอุปสงค์ • ผู้ผูกขาดที่มุ่งกำไรสูงสุด จะผลิตจนถึงจุดที่ MR=MC • จะผลิตในปริมาณต่ำกว่าหน่วยผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ • และขายในราคาสูงกว่า
ผลของการมีอำนาจผูกขาดต่ออุปสงค์แรงงานของหน่วยผลิต และต่อการตัดสินใจจ้างงาน • จะจ้างคนงานจนถึงจุดที่ สิ่งที่ได้รับจากคนงาน = ต้นทุนของการจ้าง • MRPE (MR x MPE) • แต่ว่า ... MRP < VMP (เพราะMR < P) • หน่วยผลิตในตลาดผูกขาด จ้างคนงานน้อยกว่า หน่วยผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (ซึ่งW=VMP) • แต่ อาจมีกรณีที่จ่ายค่าจ้างสูงกว่า ในตลาดแข่งขัน • ถ้า...อยากดึงดูดคนงานดีๆ และ สามารถผลักภาระต้นทุนที่เพิ่มขึ้นให้ผู้บริโภคได้