1.05k likes | 3.6k Views
PCT ศัลยกรรมกระดูกและข้อ. โรงพยาบาลโพธาราม จ.ราชบุรี. บริบท. สรุป
E N D
PCTศัลยกรรมกระดูกและข้อPCTศัลยกรรมกระดูกและข้อ โรงพยาบาลโพธาราม จ.ราชบุรี
บริบท • สรุป PCT ศัลยกรรมกระดูกและข้อ โรงพยาบาลโพธารามให้การดูแลรักษาผู้ป่วยโรคทางศัลยกรรมกระดูกและข้อ ยกเว้นการต่ออวัยวะส่วนปลาย และมะเร็งกระดูก ทุกเพศทุกวัยตามศักยภาพโรงพยาบาลทุติยภูมิระดับกลาง ตั้งแต่แรกรับที่แผนกผู้ป่วยนอก แผนกฉุกเฉินและผู้ป่วยในทางศัลยกรรมกระดูกและข้อ ตลอดจนมีการวางแผนการจำหน่ายและดูแลต่อเนื่องจนถึงชุมชนผู้รับบริการส่วนใหญ่เป็นประชาชนในเขตพื้นที่อำเภอโพธารามและส่งต่อมาจากอำเภอบางแพและตำบลเจ็ดเสมียน ผู้รับบริการที่มีปัญหาแทรกซ้อนเกินศักยภาพจะถูกส่งต่อไปรักษายังโรงพยาบาลศูนย์ราชบุรีและโรงพยาบาลศิริราช
อัตรากำลัง ประกอบด้วยทีมสหสาขาวิชาชีพ - แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านศัลยกรรมกระดูก 2 คน (ลาอบรม 1คน) - วิสัญญีแพทย์ 1 คน - แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู 1 คน - พยาบาลวิชาชีพ (แผนกผู้ป่วยนอก แผนกฉุกเฉิน แผนกเยี่ยมบ้านและแผนกผู้ป่วยในทางศัลยกรรมกระดูกและข้อ)
คณะกรรมการ PCT ศัลยกรรมกระดูก 1. แพทย์หัวหน้ากลุ่มงาน 2. แพทย์ ศัลยกรรมกระดูก 3. พยาบาลหอผู้ป่วยศัลยกรรมกระดูก 4. ตัวแทน OPD 5. ตัวแทน ER 6. ตัวแทนห้องผ่าตัด 7. ตัวแทนวิสัญญี 8. เภสัชกร หน่วยงานสนับสนุน Lab PT โภชนากร
หอผู้ป่วยศัลยกรรมกระดูกและข้อ แบ่งออกเป็น 3 ชั้น ชั้นที่ 1 เป็นผู้ป่วยศัลยกรรมกระดูกและข้อชาย มีจำนวน 18 เตียง ชั้นที่ 2 เป็นผู้ป่วยศัลยกรรมกระดูกและข้อหญิง มีจำนวน 15 เตียง ชั้นที่ 3 เป็นผู้ป่วยพิเศษศัลยกรรมกระดูกและข้อ มีจำนวน 7 ห้อง
เครื่องมือที่สำคัญ - EKG Record - เตียง Basic Flame ส่วนเครื่องมือสำคัญอื่น เช่น Infusion pump , O2saturation , Monitor EKG เมื่อจำเป็นต้องใช้จะไปยืมที่ศูนย์เครื่องมือ ( มีการสอบเทียบมาตรฐานเครื่องมือต่างๆ ทุกปี )
Top 5OPD case 1. Fracture แขน ขา 2. Back pain 3. OA Knee 4. Tear tendon and soft tissue injury 5. Fracture neck of femur / Fracture intertrochantericOPD OPD case • ระบบกล้ามเนื้อ • ปวดเข่า • ปวดหลัง • ปวดข้อต่าง ๆ
หัตถการที่สำคัญ 1. Open Reduction fixation 2. Laminectomy/Disectomy/Pedicular screw 3. Dynamic Hip Screws 4. Hemiarthoplasty/ Total Hip Arthoplasty โรค/หัตถการที่มีความเสี่ยงสูง/ค่าใช้จ่ายสูง 1. กระดูกสันหลังหัก ตีบ เคลื่อน ผ่าตัด 2. กระดูกข้อสะโพกหัก ผ่าตัดใส่ข้อสะโพกเทียม 3. ข้อเข่าเสื่อมผ่าตัดใส่เข่าเทียม
เจตจำนง ให้การรักษาพยาบาลผู้ป่วยทางศัลยกรรมกระดูก โดยดูแลทั้งร่างกาย จิตใจ สังคม อย่างปลอดภัย ได้มาตรฐาน เป็นที่พึงพอใจของผู้รับบริการ เป้าหมาย ผู้รับบริการปลอดภัย ปราศจากภาวะแทรกซ้อน พึงพอใจ ความท้าทาย -การป้องกันภาวะแทรกซ้อนไม่ให้เกิดขึ้นในการดูแลรักษา -การประเมินความเสี่ยงและเฝ้าระวังความเสี่ยงที่สำคัญ
กระบวนการของหน่วยงาน 1.กระบวนการหลัก 1.1 การประเมินความเสี่ยงแรกรับที่ ER , OPD, ward ( ตามCPG , CARE MAP) 1.2 การดูแลผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง/ผู้ป่วยวิกฤต ( ตามCPG , CARE MAP, การเฝ้าระวังความเสี่ยง , Drug System , IC) 1.3 การวางแผนการรักษา (ตามมาตรฐานวิชาชีพ , ดูแลโดยทีมสหสาขาวิชาชีพ , มีการวางแผนการจำหน่าย , เชื่อมโยง HPH )
2. กระบวนการคู่ขนาน 2.1 การตอบสนองต่อความต้องการของผู้รับบริการ ( ลูกค้าภายนอก และลูกค้าภายใน) 2.2 การพัฒนาศักยภาพบุคลากร (ทบทวนความรู้และทักษะการดูแลผู้ป่วยต่อเนื่อง) 2.3 การส่งเสริมสุขภาพและสร้างความสุขในการทำงานของบุคลากร
ความเสี่ยงทางคลินิกที่สำคัญได้แก่ - ภาวะไขมันในไขกระดูกกระจายเข้าอุดตันหลอดเลือด (Fat Embolism ) - การหลุดหลวมของข้อเข่าเทียม , ข้อสะโพกเทียม - ภาวะ Compartment Syndrome - nerve palsy หลังใส่เฝือก/ Traction - การติดเชื้อแผลผ่าตัดสะอาด - แผลกดทับ - การติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะในผู้ป่วยใส่สายสวนปัสสาวะ - การพลัดตกหกล้ม
การเลื่อน/งดผ่าตัดมีสาเหตุจากการให้ข้อมูลไม่ครบถ้วน และการสื่อสารด้านภาษา เช่นการให้ผู้ป่วยงดน้ำงดอาหาร ปรับปรุงโดยการติดป้ายงดน้ำและอาหาร และย้ำให้ผู้ป่วยทราบโดยเฉพาะผู้ป่วยสูงอายุ เด็ก และผู้ป่วยต่างด้าวต้องมีผู้ดูแลที่รู้ภาษาไทย ผู้ป่วยที่มีโรคประจำตัว มีระบบการปรึกษาแพทย์อายุรกรรม วิสัญญีแพทย์ก่อนทุกราย ในส่วนของแพทย์การ set ผ่าตัดจะประเมินศักยภาพตนเองในการผ่าตัด และห้องผ่าตัดมีระบบแบ่งวันให้แพทย์
ไม่พบการผ่าตัดซ้ำเนื่องจากความรุนแรงของโรค และภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด เช่นการตกเลือด ซึ่งในปี 2548 พบ 1 รายเนื่องจากการผ่าตัดเอา K-wire ไม่ครบ
การติดเชื้อแผลผ่าตัดใส่เหล็กดามกระดูกเป็นภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญในผู้ป่วยศัลยกรรมกระดูกและข้อ ในปี 2549 พบมีการติดเชื้อแผลผ่าตัดแผลสะอาดที่ใส่โลหะดามกระดูก 2 ราย คิดเป็น0.88 % จึงได้ดำเนินกิจกรรมพัฒนาคุณภาพพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยที่ผ่าตัดใส่เหล็กดามกระดูก ผลในปีพ.ศ. 2550 และ พ.ศ. 2511 ไม่พบการติดเชื้อ
การติดเชื้อแผลผ่าตัดเป็นภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญ ผู้ป่วยศัลยกรรมกระดูกยังพบการติดเชื้อของแผลผ่าตัดสะอาด ซึ่งตามเกณฑ์ต้องไม่เกิน 0.5 % ในปี 2548 พบมีสูงถึง 1 % จึงได้มีการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วย ผลการดำเนินงานการติดเชื้อลดลง ในปี 2550 การติดเชื้อ เป็น
ปัญหา ปี 2546 พบแผลกดทับ 11 ราย มีการติดเชื้อ 2 ราย มีการพัฒนาการดูแล โดย ประชุมใน PCT จัดทำแนวทางการดูแลในแนวทางเดียวกัน ทบทวนความรู้ จัดหาอุปกรณ์ให้เพียงพอ ผลลัพธ์ อัตราการเกิด ลดลง แต่ไม่พบการติดเชื้อ และเป็นระดับ 2 เท่านั้น ในปีปี 2551 พบมีแนวโน้มสูงขึ้น ต้องพัฒนาต่อเนื่องเพราะยังพบอัตราการเกิดอยู่
ปัญหา ปี 2546 พบอัตราการเกิด UTI 10.28:1000 วันใส่สาย ซึ่งเป็นอัตราที่สูงกว่าหน่วยงานอื่นมีอัตราลดลง< 5:1000 วันใส่ แต่ในปี 2551 (1ตค.50-30 มีค.51 ) พบการเกิด 4 ครั้ง คิดเป็น 21:1000 วันใส่ นำมสทบทวนกับ IC หอผู้ป่วย และห้องผ่าตัด -พัฒนาการดูแลโดยทำร่วมกับ IC โดยฟื้นฟูวิชาการ ประเมินเจ้าหน้าที่ในการดูแล -จัดทำโครงการลดการติดเชื้อในผู้ป่วยใส่สายสวนปัสสาวะ -ปรับเปลี่ยนวิธีทำความสะอาด สุ่มประเมินการล้างมือของเจ้าหน้าที่ -สิ่งที่ต้องพัฒนาต่อ ทบทวนการปฏิบัติ ตั้งเป้าลดลง < 5:1000 วันใส่สายสวน
มีการเฝ้าระวังการติดเชื้อ โดยการทบทวนการล้างแผล การล้างมือ การทำผ่าตัดผู้ป่วย open fracture รวดเร็วในระยะ 12 ชม. โดยมี CPG ในการดูแลผู้ป่วย ตั้งแต่แรกรับที่ ER โดยการล้างแผลด้วย NSS 3000-4000 cc และให้ Antibiotic ทันที
ปี 2547 จัดทำคู่มือการดูแลผู้ป่วยที่เสี่ยงต่อการเกิด Compartment syndrome โดยในผู้ป่วยกระดูกหักใกล้ข้อ และเข้าเฝือกปูน โดยกำหนดกลุ่มเสี่ยง ศึกษาภาวะ Compartment syndrome จัดทำคู่มือการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะเสี่ยง Compartment syndrome โดยมีแนวทางในการปฏิบัติเป็น Flow chart ประชุมให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่สู่การปฏิบัติ ดังนั้นเมื่อผู้ป่วยมีอาการปวด บวม ชา เหยียดนิ้วแล้วปวดมาก รายงานแพทย์ และขยายเฝือกได้ทัน จึงไม่พบอุบัติการณ์ดังกล่าว
มีการพัฒนาบริการในหลายด้าน เช่นการให้ข้อมูล พัฒนาการดูแล ทำให้ความพึงพอใจมากขึ้น ข้อที่ได้คะแนนน้อยคือ อาคารสถานที่
อัตราการกลับมารักษาซ้ำมีแนวโน้มลดลง ในปี 2547 มีผู้ป่วยใส่เหล็กดามกระดุกแขนหักมานอนรักษาซ้ำจากอุบัติเหตุล้ม 1 ราย มีการปรับปรุงการเตรียมจำหน่ายตั้งแต่แรกรับ ขณะให้การดูแลรักษา และประสานงานทีมผู้ดูแลเช่น พยาบาลเยี่ยมบ้าน ทำให้ไม่มีผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยน/ข้อเข่า ข้อสะโพกเทียม ผ่าตัดหลังกลับมารักษาซ้ำ
ไม่พบอุบัติการณ์การแพ้ยาซ้ำ จากมีระบบการบันทึกประวัติการแพ้ยาในเวชระเบียน การบันทึกของแผนกเภสัช การซักประวัติการแพ้ยาในหอผู้ป่วย
ไม่พบอุบัติการณ์การคลาดเคลื่อนยาHAD จากมีแนวทางการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาที่ต้องระมัดระวังสูง ในโรงพยาบาลโพธาราม
ไม่พบอุบัติการณ์คลาดเคลื่อนทางยาระดับ D จากมีคู่มือการปฏิบัติ การเฝ้าระวัง
การพัฒนาระบบงาน/การแก้ไข/การป้องกันที่ระบบวางไว้การพัฒนาระบบงาน/การแก้ไข/การป้องกันที่ระบบวางไว้ 1. การประเมินความเสี่ยงแรกรับ 2. การดูแลผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง 3. การดูแลผู้ป่วยวิกฤต 4. การวางแผนการรักษาโดยทีมสหสาขาวิชาชีพ 5. ทบทวน 12 กิจกรรม *** เน้นการออกแบบและจัดระบบงานอย่างเหมาะสม มีการปฏิบัติตามระบบที่ออกแบบไว้ ประเมินแบบที่ใช้และระบบงานว่าทำได้ดีสามารถใช้ประโยชน์จากตัวชี้วัดอย่างไร มีการปรับปรุงระบบงานที่ทำแล้วและวางแผนทำอะไรต่อไป
การประเมินสภาพและการวินิจฉัยการประเมินสภาพและการวินิจฉัย -ประเมินสภาพตรวจร่างกายครอบคลุมทุกระบบ โดยเฉพาะระบบกระดูก + กล้ามเนื้อ -การ Investigate -การ X-ray ตำแหน่งที่หักหรือสงสัยทุกราย - Lab , EKG ตาม CPG ทุกราย - MRI ในผู้ป่วยปวดหลังที่รักษาประคับประคองไม่ดีขึ้นและมีข้อบ่งชี้ทำผ่าตัด
การประเมินสภาพและการวินิจฉัย (ต่อ) ผลการดูแล ยังพบ Miss Diagnosis ของแพทย์ Extern การแก้ไข 1. ผู้ป่วยที่มารักษานอกเวลา ให้รายงาน/ consult แพทย์ ortho เวรในได้ทุกราย หากไม่มั่นใจนัด F/U พบแพทย์ศัลยกรรมกระดูกวันรุ่งขึ้น 2. กรณีเสี่ยง ให้ Admit เพื่อประเมินอาการ 3. ผู้ป่วยในต้องได้รับการประเมินใน 24 ชั่วโมงจาก Staff
ระบบการดูแลผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง - มีคู่มือการดูแล care map ในการดูแลผู้ป่วยในโรค/หัตถการที่สำคัญ เช่นผู้ป่วยผ่าตัดหลัง ผ่าตัดใส่เหล็กดามกระดูก ผ่าตัดใส่ข้อสะโพกเทียม ผ่าตัดใส่ข้อเข่าเทียม - มีระบบการดูแลผู้ป่วยทีมีภาวะเสี่ยงที่สำคัญในผู้ป่วยศัลยกรรมกระดูก เช่น เสี่ยงต่อการเกิดภาวะ Compartment syndrome เสี่ยงต่อการเกิดภาวะ alcoholic withdrawal syndrome เสี่ยงต่อการเกิด Fat embolism syndrome ภาวะ upper GI bleeding จาก stress ulcer ในผู้ป่วยสูงอายุ/ผู้ป่วยที่มีภาวะเสี่ยงที่ได้รับการผ่าตัด คู่มือการดูแลผู้ป่วย spinal cord injury
กิจกรรมพัฒนา • กิจกรรมพัฒนาและแก้ไขปัญหาที่สำคัญ จากปัญหา ตัวชี้วัด ความเสี่ยง กิจกรรมทบทวน • กิจกรรมพัฒนาเฉพาะโรค - Clinical tracer TKR , Hip arthoplasy - กิจกรรมพัฒนาโรคสำคัญอื่น ๆ 3. กิจกรรมพัฒนาต่อเนื่อง
กิจกรรมพัฒนาและแก้ไขปัญหาที่สำคัญกิจกรรมพัฒนาและแก้ไขปัญหาที่สำคัญ 1. พัฒนาระบบการเฝ้าระวังอันตรายจาก Alcoholic Withdrawal syndrome กิจกรรมพัฒนา -ทบทวนอุบัติการณ์ ประชุมร่วมจิตเวช แพทย์ - คู่มือ แนวทางการปฏิบัติ การประเมิน การเฝ้าระวัง การดูแลรักษา - การส่งต่อในการดูแลต่อเนื่องในผู้ป่วยต้องการเลิกสุรา ตัวชี้วัด หลังทำระบบการดูแล ไม่มีอุบัติการณ์อันตรายจากผู้ป่วย AWS แลผู้ป่วยทุกรายที่มีประวัติดื่มสุราประจำ ได้รับการประเมินตามแบบฟอร์มการเฝ้าระวัง AWS
กิจกรรมพัฒนาและแก้ไขปัญหาที่สำคัญกิจกรรมพัฒนาและแก้ไขปัญหาที่สำคัญ 2. การเฝ้าระวังและการป้องกันการเกิด Stress ulcer ในผู้ป่วยศัลยกรรมกระดูก กิจกรรมพัฒนา -ทบทวนอุบัติการณ์ ประชุมร่วมกับแพทย์ - คู่มือ แนวทางการปฏิบัติ การประเมิน การเฝ้าระวัง การดูแลรักษา ผลการดำเนินงาน หลังทำระบบการดูแล ไม่มีอุบัติการณ์อันตรายจากผู้ป่วยมี upper GI Bleeding ผู้ป่วยที่มีภาวะเสี่ยงเช่นมีประวัติได้รับยา NSAIDS ประวัติเป็นโรคกระเพาะ สูงอายุ ที่ได้รับการผ่าตัดได้รับการประเมิน การเฝ้าระวัง และได้รับยาลดกรดทุกราย
กิจกรรมพัฒนาและแก้ไขปัญหาที่สำคัญกิจกรรมพัฒนาและแก้ไขปัญหาที่สำคัญ 3. การเฝ้าระวังและการป้องกันการเกิด Fat embolism ในผู้ป่วยศัลยกรรมกระดูก กิจกรรมพัฒนา - ทบทวนอุบัติการณ์ ประชุมร่วมกับแพทย์ - คู่มือ แนวทางการปฏิบัติ การประเมิน การเฝ้าระวัง การดูแลรักษา ผลการดำเนินงาน หลังทำระบบการดูแล ไม่มีอุบัติการณ์อันตรายจากภาวะ Fat embolism ผู้ป่วย Fx. ได้รับการ Splint การเคลื่อนย้ายที่ถูกต้องจาก ER ผู้ป่วยที่มีภาวะเสี่ยงเช่น Compound Fx. ได้รับการผ่าตัดทันที การเฝ้าระวังเพื่อการประเมินผลได้โดยการวัด V/S จับ Sat ผู้ป่วยกระดูกหักทุกรายตามมาตรฐาน
กิจกรรมพัฒนาและแก้ไขปัญหาที่สำคัญกิจกรรมพัฒนาและแก้ไขปัญหาที่สำคัญ • ทบทวนการดูแลผู้ป่วยจากเหตุการณ์สำคัญ • ผู้ป่วยเสียชีวิตระหว่าง refer • แก้ไข ทบทวนการ admit head injury การประเมินผู้ป่วย การประสานงานในการ refer • การ admit ผิดแผนก • 2.1 โรคที่ก้ำกึ่ง และโรคที่ admit ผิดแผนกบ่อย • แก้ไข กำหนดแนวทางการ admit โรคที่มีปัญหาบ่อยของโรงพยาบาลด้าน ortho ได้แก่ Low back pain และ Monoarthitis R/O sepsus • (มี 19 โรค) • 2.2 การวินิจฉัย เช่นผู้ป่วยกระดูกหัก ที่มี Blunttrauma , HI, Fx. Pelvis ต้อง admit ที่แผนกศัลยกรรมทั่วไปก่อน • การแก้ไข ทบทวน CPG ที่ ER / ชี้แจงในองค์กรแพทย์
กิจกรรมพัฒนาและแก้ไขปัญหาที่สำคัญกิจกรรมพัฒนาและแก้ไขปัญหาที่สำคัญ • ทบทวนการดูแลผู้ป่วยจากเหตุการณ์สำคัญ • ภาวะแทรกซ้อนในการดูแล ได้แก่ผู้ป่วยเบาหวาน มี Hypoglycemia หลังผ่าตัด ,Pulmonary edema , Electrolyte Imbalance • แก้ไข ทบทวนการดูแล • ทบทวนการใช้ทรัพยากร • ระบบการจองเลือดในการผ่าตัด • การ Investigateที่เหมาะสม ทำ MRI ที่จำเป็น
Clinical Tracer of QualityTKR กลุ่มงานศัลยกรรมกระดูก
1. บริบท -ข้อเข่าเสื่อมเป็น Top 5 ของ OPD และผู้ป่วยใน -การผ่าตัด TKR เป็นหัตถการที่มีค่าใช้จ่ายสูง มีภาวะเสี่ยง เพราะส่วยใหญ่เป็นผู้ป่วยสูงอายุ และมีโรคประจำตัว
2. ประเด็นสำคัญ/ความเสี่ยงสำคัญ • การติดเชื้อแผลผ่าตัด • การหลุดหลวมของ ข้อเทียม • ความทุกข์ทรมานจาก Pain • การเกิด Venous thromboembolism (ภาวะอุดตันหลอดเลือดดำหลังผ่าตัด) • วางแผนการดูแลรักษาและติดตามต่อเนื่อง CPG , Care map • การ Empowerment และสร้างความพึงพอใจ
4. กระบวนการเพื่อให้ได้มาเพื่อคุณภาพ หอผู้ป่วยออร์โธปิดิกส์ได้มีการจัดทำ GUIDELINE ในการดูแลรักษาผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยนผิวข้อเข่าเทียม ( TKR)โดยมีการประชุมแพทย์ พยาบาล และทีมสหสาขาวิชาชีพ เพื่อนำแนวทาง CPG มาทำเป็นแผนการดูแลรักษา CARE MAP เพื่อประสานงานเชื่อมโยงกระบวนการเตรียมตัวผู้ป่วย การประเมิน การดูแลและการจำหน่ายให้เป็นระบบ โดยทีมสหสาขาวิชาชีพที่เข้าร่วมได้แก่ -ระบบการ consult medในผู้ป่วยมีโรคประจำตัว การ admitICU ในผู้ป่วยสูงอายุ หรือแพทย์พิจารณาเห็นสมควรหลังผ่าตัด - ห้องตรวจผู้ป่วยนอก เตรียมผู้ป่วยให้มีความพร้อมก่อนการผ่าตัดด้านข้อมูลก่อนนอน รพ. และประเมินพฤติกรรมที่เหมาะสมกับสภาวะของโรคเมื่อผู้ป่วยมาตรวจตามนัด
- พยาบาลหอผู้ป่วย ประเมินสภาพผู้ป่วยให้ครอบคลุมทุกระบบของร่างกาย เพิ่มพูนความรู้และทักษะการพยาบาล ปฏิบัติให้ได้ตามมาตรฐาน มีการใช้ CPG , CARE MAP ปฏิบัติตามคู่มือการพยาบาล การใช้ PAIN MANAGEMENT ปฏิบัติตาม D/C PLAN ตลอดจนการเฝ้าระวังความเสี่ยง การ EMPOWERMENT ผู้ป่วยโดยการให้ข้อมูลและเสริมพลังให้สามารถดูแลตนเองขณะอยู่โรงพยาบาลจนกระทั่งกลับไปอยู่บ้านได้ เพื่อให้การรักษาเป็นแบบองค์รวม - ทีมห้องผ่าตัดประเมินสภาพผู้ป่วยให้ครอบคลุมทุกระบบของร่างกาย และจิตใจ เตรียมผู้ป่วยให้มีความพร้อมก่อนและหลังการผ่าตัด โดยการตรวจเยี่ยมก่อนและหลังการผ่าตัด - ทีมวิสัญญี ประเมินสภาพผู้ป่วยให้ครอบคลุมทุกระบบของร่างกายก่อนและหลังการผ่าตัด ใช้ PAIN MANAGEMENT ในการดูแลผู้ป่วยหลังการผ่าตัด
- ทีมกายภาพบำบัด ประเมินสภาพผู้ป่วยหลังการผ่าตัดให้มีความพร้อมในการฟื้นฟูสภาพ ในการฝึกออกกำลังกล้ามเนื้อเข่า การงอเข่าให้มากกว่า 90 องศา การฝึกเดินด้วยอุปกรณ์ช่วยเดิน - พยาบาลเยี่ยมบ้าน ร่วมวางแผนการจำหน่ายกับทีมสหสาขาวิชาชีพ ดูแลความพร้อมก่อนกลับบ้าน ติดตามเยี่ยมต่อเนื่องที่บ้าน รวมถึงการส่งต่อ PCU สถานีอนามัยและชุมชน 5. การพัฒนาต่อเนื่อง - ใช้ระบบ CASE MANAGEMENT มาดูแลผู้ป่วย - ปรับกลยุทธ์ในการสื่อสารกับผู้ป่วยด้วยหนังสือคู่มือและ VCD โปรแกรมการออกกำลังกายผู้ป่วยหลังผ่าตัดเปลี่ยนผิวข้อเข่าเทียม - ทบทวนปรับปรุง CPG , CARE MAP,D/C PLAN
Clinical Tracer of QualityHip arthoplasty กลุ่มงานศัลยกรรมกระดูก
1. บริบท -การผ่าตัดข้อสะโพกเทียม เป็นหัตถการที่มีค่าใช้จ่ายสูง นอนนานเกิน DRG - มีภาวะเสี่ยง เพราะส่วนใหญ่เป็นผู้ป่วยสูงอายุ และมีโรคประจำตัว - มีภาวะแทรกซ้อน เช่นแผลกดทับ แผลติดเชื้อ - พบอุบัติการณ์การหลุดของข้อเทียมในปี 2550 หลังใส่ได้ ปีเศษ จาการลื่นล้ม
2. ประเด็นสำคัญ/ความเสี่ยงสำคัญ • การติดเชื้อแผลผ่าตัด • การหลุดหลวมของ ข้อเทียม • ความทุกข์ทรมานจาก Pain • วางแผนการดูแลรักษาและติดตามต่อเนื่อง CPG , Care map • การ Empowerment และสร้างความพึงพอใจ