180 likes | 491 Views
ระเบียบวิธีวิจัยในงานภาคเกษตรกรรม. ดร.วรรณดี สุทธินรากร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. Philosophy. epistemology. Metaphysic, ontology. knowledge. ความรู้. Phenomenal/ Reality. ปรากฏการณ์/ความจริง. คุณค่า. Value. start. Axiology.
E N D
ระเบียบวิธีวิจัยในงานภาคเกษตรกรรมระเบียบวิธีวิจัยในงานภาคเกษตรกรรม ดร.วรรณดี สุทธินรากร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Philosophy epistemology Metaphysic, ontology knowledge ความรู้ Phenomenal/ Reality ปรากฏการณ์/ความจริง คุณค่า Value start Axiology การวิจัยคือการแสวงหาความรู้จากความจริงด้วยวิธีการที่เป็นระบบระเบียบและมีเหตุผลเพื่อให้ได้สิ่งที่มีคุณค่า/สิ่งที่ดีกว่า
เศรษฐศาสตร์มหภาค/จุลภาคเศรษฐศาสตร์มหภาค/จุลภาค เศรษฐกิจเสรี การศึกษาแบบแยกส่วน ปรากฏการณ์/ความจริง เทคโนโลยีสูง แพทย์สมัยใหม่ เกษตรสมัยใหม่ ยุติธรรมภาครัฐ Paradigm shift วัฒนธรรม high art, low art เงิน วิทยาศาสตร์ กระบวนทัศน์กระแสหลัก(mainstream paradigm) ดั้งเดิม ศาสนา เทคโนโลยีสารสนเทศ Paradigm shift? กระบวนทัศน์ทางเลือก (alternative paradigm) เกษตรทางเลือก/ทฤษฎีใหม่/เกษตรยั่งยืน happiness เทคโนโลยีขนาดกลาง ความหลากหลายทางวัฒนธรรม เศรษฐกิจชุมชน/พอเพียง ยุติธรรมชุมชน เศรษฐศาสตร์เชิงพุทธ/ชุมชน การศึกษาแบบองค์รวม/บูรณาการ แพทย์ทางเลือก
เศรษฐศาสตร์มหภาค/จุลภาคเศรษฐศาสตร์มหภาค/จุลภาค เศรษฐกิจเสรี การศึกษาแบบแยกส่วน ความรู้ เทคโนโลยีสูง แพทย์สมัยใหม่ เกษตรสมัยใหม่ ยุติธรรมภาครัฐ Paradigm shift วัฒนธรรม high art, low art เงิน วิทยาศาสตร์ กระบวนทัศน์กระแสหลัก(mainstream paradigm) ดั้งเดิม ศาสนา เทคโนโลยีสารสนเทศ Paradigm shift? กระบวนทัศน์ทางเลือก (alternative paradigm) เกษตรทางเลือก/ทฤษฎีใหม่/เกษตรยั่งยืน happiness เทคโนโลยีขนาดกลาง ความหลากหลายทางวัฒนธรรม เศรษฐกิจชุมชน/พอเพียง ยุติธรรมชุมชน เศรษฐศาสตร์เชิงพุทธ/ชุมชน การศึกษาแบบองค์รวม/บูรณาการ แพทย์ทางเลือก
ความรู้ การวิจัยเชิงปริมาณ (quantitative research) กระบวนทัศน์กระแสหลัก(mainstream paradigm) วิจัยผสานวิธี (combined methodology) เทคโนโลยีสารสนเทศ วิจัยเชิงคุณภาพ (qualitative research) กระบวนทัศน์ทางเลือก(Alternative paradigm) วิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action research)
เปรียบเทียบการวิจัย 3 กระบวนทัศน์ ธรรมชาติของความจริง การวิจัยปริมาณ ความจริงเป็นสิ่งที่สามารถจัดกระทำได้ ควบคุมได้ การวิจัยเชิงปฏิบัติการ - ความจริงมีวิวัฒนาการทางประวัติศาสตร์ -มนุษย์เป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้ท่ามกลางความสัมพันธ์ของอำนาจ การวิจัยคุณภาพ ความจริงมีความหลากหลาย สามารถนำมาจัดความสัมพันธ์
เป้าหมาย การวิจัยคุณภาพ ตีความ (ภาษา วิวาทะ สัญลักษณ์) ให้ความหมายในเชิงลึก การวิจัยเชิงปฏิบัติการปรับปรุง เปลี่ยนแปลง พัฒนามุ่งความเป็นอิสระ คุณค่าของมนุษย์ มุ่งความยุติธรรม เสรีภาพ ประชาธิปไตย เสริมพลัง การวิจัยปริมาณมุ่งศึกษาพฤติกรรมของคน (ความรู้ ความคิด การกระทำ) เพื่อให้ได้ข้อสรุปเชิงนัยทั่วไป (generalization)พิสูจน์ + อ้างอิงได้
ธรรมชาติของความรู้ การวิจัยปริมาณได้จากความจริงที่กำหนดใน วัตถุประสงค์ มีความเป็นกลาง (value free) การวิจัยคุณภาพความรู้สะท้อนถึงโครงสร้าง ของสังคม ภาษามีความหมายต่อข้อมูล ยากที่จะเป็นกลาง(non-value free) การวิจัยเชิงปฏิบัติการ ความรู้อยู่ในระดับสำนึก(conscious) การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นได้จากการ ตั้งคำถาม(dialogue) ความรู้มีมิติขององค์รวม (holistic dimension)
วิธีการ การวิจัยคุณภาพให้ความสำคัญกับคนพฤติกรรมของคนทฤษฎีฐานราก grounded theory การวิจัยปริมาณ สำรวจ ทดลอง อธิบาย ทำนายพฤติกรรมใช้ทฤษฎีหลัก(grand theory) ตั้งสมมุติฐานใช้สถิติที่ง่าย - ซับซ้อน การวิจัยเชิงปฏิบัติการ ใช้กระบวนการ action reflection (dialectic)
วงจรของการวิจัยเชิงปฏิบัติการวงจรของการวิจัยเชิงปฏิบัติการ action reflection
การวางแผนการปฏิบัติ (นำแผนไปใช้) การสะท้อนสังเกต
Plan Do Act Check
Plan Action Observation Evaluation Re-Plan
เครื่องมือ การวิจัยปริมาณ - เครื่องมือ แบบสอบถาม • การวิจัยเชิงปฏิบัติการ • ใช้การตั้งคำถาม • วิธีการหลากหลาย เช่น สัมภาษณ์ / เล่าเรื่อง / การแสดง / ร้องเพลง ฯลฯ การวิจัยคุณภาพ - เครื่องมือ สัมภาษณ์ สังเกต- การตีความ (meaning) /human as instrument - จัดความสัมพันธ์
เทคนิคและเครื่องมือ มีการตั้งคำถามกระตุ้นให้เกิดพลัง (powerful questions) แบบสัมภาษณ์ แบบสังเกต brainstorming, concept mapping, SWOT, BSC ,RRA, PRA,AIC, ZOPP, การเล่านิทาน บทบาทสมมุติ ประชุมกลุ่ม เวทีชุมชน ฯลฯ
การนำเสนอผลการวิจัย • การวิจัยเชิงปริมาณ อิงวัตถุประสงค์ อิงสถิติ สมมุติฐาน • การวิจัยเชิงคุณภาพ อิงวัตถุประสงค์ คำถามข้อสงสัยในการวิจัย • การวิจัยเชิงปฏิบัติการ อิงวงจรของการวิจัย