600 likes | 1.29k Views
11 - 3. บทที่ 11. การประมาณกระแสเงินสดและการวิเคราะห์ความเสี่ยง. 1. วิธีการประมาณกระแสเงินสด ที่มีความสัมพันธ์กับโครงการ. 2. เทคนิคการวัดความเสี่ยง ของโครงการ. 11 - 4. 1. การประมาณกระแสเงินสด. เป็นกระบวนการที่สำคัญแต่ยากที่สุดในการวิเคราะห์
E N D
11 - 3 บทที่ 11 การประมาณกระแสเงินสดและการวิเคราะห์ความเสี่ยง 1. วิธีการประมาณกระแสเงินสด ที่มีความสัมพันธ์กับโครงการ 2. เทคนิคการวัดความเสี่ยง ของโครงการ
11 - 4 1. การประมาณกระแสเงินสด เป็นกระบวนการที่สำคัญแต่ยากที่สุดในการวิเคราะห์ งบลงทุน : ต้องประมาณเงินลงทุนเริ่มแรก และกระแส เงินสดสุทธิจากการลงทุนในโครงการ ซึ่งมีปัจจัยที่เกี่ยวข้องหลายประการ
11 - 5 2. กระแสเงินสดที่มีความสัมพันธ์กับโครงการ 1. กระแสเงินสดไม่ใช่กำไรทางบัญชี 2. ต้องเป็น กระแสเงินสดส่วนเพิ่ม เท่านั้น 3. ช่วงเวลาที่เกิดกระแสเงินสด
11 - 6 ( 1 ) กระแสเงินสดไม่ใช่กำไรทางบัญชี กระแสเงินสดอิสระคำนวณได้อย่างไร ตอบ กำไรจากการดำเนินงานหลังภาษี XXX ค่าเสื่อมราคาXX รายจ่ายลงทุน ( XX) บวก หัก การเปลี่ยนแปลงของ เงินทุนหมุนเวียนใน (XX) การดำเนินงาน(สุทธิ) * * กระแสเงินสดอิสระ XXX สินทรัพย์หมุนเวียน หนี้สินที่เพิ่มขึ้นโดยอัตโนมัติ
1. ต้นทุนของสินทรัพย์ถาวร ( - ) ( ราคาทุน + ค่าขนส่ง + ค่าติดตั้ง ) 2. ค่าใช้จ่ายที่ไม่ใช่เงินสด เช่น ค่าเสื่อมราคา ( + ) 3. การเปลี่ยนแปลงของเงินทุนหมุนเวียน ในการดำเนินงาน ( สุทธิ ) ( - ) 4. ดอกเบี้ยจ่าย ( 0 ) 11 - 7 กระแสเงินสดสุทธิ
11 - 8 กระแสเงินสดของโครงการรวมดอกเบี้ยจ่าย และเงินปันผลหรือไม่ เพราะเหตุใด ถาม ไม่รวม เพราะกระแสเงินสดของโครงการซื้อลดด้วย ต้นทุนของเงินทุน ( WACC ) k% ได้ถัวเฉลี่ย ถ่วงน้ำหนักต้นทุนของหนี้สิน หุ้นบุริมสิทธิ และหุ้นสามัญ ( ซึ่งปรับให้เหมาะสมกับ ความเสี่ยงของโครงการ )ไว้แล้ว ถ้านำดอกเบี้ย จ่ายมารวมอีกจะเป็นการคิดต้นทุนซ้ำซ้อน
11 - 9 ( 2 ) กระแสเงินสดส่วนเพิ่ม กระแสเงินสดสุทธิที่เกิดขึ้นเมื่อรับโครงการเท่านั้น เป็น ต้นทุน ส่วนเพิ่ม หรือไม่ 1. ต้นทุนจม ( 0 ) 2. ต้นทุนเสียโอกาส ( - ) ( + ) 3. Externalities ( - )
กระแสเงินสดที่จ่ายไปแล้วกระแสเงินสดที่จ่ายไปแล้ว ไม่สามารถเรียกคืนได้ไม่ว่า จะรับโครงการหรือไม่ ไม่เป็นต้นทุนส่วนเพิ่ม 11 - 10 ต้นทุนจม (Sunk Costs)
ค่าจ้างที่ปรึกษาวิเคราะห์โครงการ 50,000 บาท คิดเป็นค่าใช้จ่ายปี 2545 แล้ว เมื่อเริ่มโครงการ ปี 2546 ต้นทุนนี้นำมารวมด้วยหรือไม่ เพราะเหตุใด ถาม ไม่ต้องนำต้นทุนนี้มารวม ด้วย เพราะเป็น ต้นทุนจม พิจารณาเฉพาะต้นทุน ส่วนเพิ่มเท่านั้น ตอบ 11 - 11
ผลตอบแทนสูงสุดที่ ไม่ได้รับ จากทางเลือกหนึ่ง เมื่อเลือกทางเลือกอีกทางหนึ่ง 11 - 12 ต้นทุนเสียโอกาส (Opportunity Costs) คือ
การลงทุนใช้อาคารโรงงานที่ให้เช่าได้ปีละการลงทุนใช้อาคารโรงงานที่ให้เช่าได้ปีละ 250,000 บาท ต้องนำต้นทุนนี้มารวมด้วย หรือไม่ เพราะเหตุใด ( อัตราภาษี 40% ) ถาม ต้องนำต้นทุนนี้มารวมด้วย เพราะการลงทุนใน โครงการจะขาดรายได้ปีละ 250,000 บาทซึ่งเป็น ต้นทุนเสียโอกาส จึงคิดเป็นต้นทุนของโครงการ ต้นทุนเสียโอกาสหลังภาษี = 250,000 ( 1 - T ) = 250,000 ( 0.6 ) = 150,000 บาท ต่อปี ตอบ 11 - 13
Externalities มีทั้ง บวก(Positive) และ ลบ(Negative) 11 - 14 Externalities คือ ผลกระทบของโครงการที่มีต่อการดำเนินงานเดิมของกิจการ
11 - 15 ถาม โครงการออกผลิตภัณฑ์ใหม่ทำให้ยอดขายของผลิตภัณฑ์ เดิมลดลง ต้องนำผลกระทบนี้มาวิเคราะห์ด้วยหรือไม่ ต้องนำมาวิเคราะห์ด้วย เรียกว่า ตอบ Cannibalization กระแสเงินสดจากผลิตภัณฑ์เดิม ที่ลดลงจะเป็นต้นทุนของ โครงการออกผลิตภัณฑ์ใหม่
(3) ช่วงเวลาที่เกิดกระแสเงินสด 11 - 16 กำหนดข้อสมมติว่ากระแสเงินสดเกิดขึ้นทุกสิ้นปี แต่บางโครงการอาจกำหนดให้กระแสเงินสดเกิดขึ้น กลางปี ทุกไตรมาส หรือทุกเดือนก็ได้
1. โครงการใหม่ เพื่อการขยายงาน 2. โครงการใหม่ ทดแทนโครงการเก่า New Expansion Project Replacement Project 11 - 17 3. การประเมินโครงการลงทุน
1. เงินลงทุนเริ่มแรก 2. กระแสเงินสดจากการ ดำเนินงานตลอดอายุโครงการ 3. กระแสเงินสดปีสุดท้าย ( สิ้นสุด ) โครงการ การวิเคราะห์กระแสเงินสด 11 - 18 แบ่งเป็น 3 ส่วน
ขายสินค้าได้ปีละ 20,000 หน่วย @ 3,000 บาท ลงทุน : อาคาร 12 ล้านบาท ( คิดค่าเสื่อมราคา 39 ปี ) เครื่องจักร 8 ล้านบาท ( คิดค่าเสื่อมราคา 5 ปี ) ค่าเสื่อมราคาวิธี MACRS อายุโครงการ 4 ปี เงินทุนหมุนเวียนในการดำเนินงานสุทธิ 6 ล้านบาท ซื้อเครื่องจักร 31 ธ.ค. 2003 กระแสเงินสด จากการดำเนินงานปีแรก 31 ธ.ค. 2004 11 - 19 ตัวอย่าง โครงการใหม่เพื่อการขยายงาน
11 - 20 ตัวอย่าง โครงการใหม่เพื่อการขยายงาน (ต่อ) เมื่อสิ้นสุดโครงการ ราคาตลาด ราคาตามบัญชี อาคาร 7.5 เครื่องจักร 2.0 10.908 ล้านบาท 1.360 ล้านบาท ต้นทุนผันแปร หน่วยละ 2,100 บาท ต้นทุนคงที่ไม่รวมค่าเสื่อมราคาปีละ 8 ล้านบาท อัตราภาษี 40% ต้นทุนของเงินทุน ( k ) = 12%
1. ข้อมูล Input 2. ตารางค่าเสื่อมราคา 3. มูลค่าซาก ( สุทธิ ) 4. ประมาณกระแสเงินสดสุทธิ ของโครงการ 5. ผลลัพธ์ที่ได้และการประเมินโครงการ 11 - 21 แนวทางการวิเคราะห์ แบ่งเป็น 5 ส่วน
ผลลัพธ์ : NPV = 5,166 อาคาร (ราคาทุน) 12,000 เครื่องจักร (ราคาทุน) 8,000 เงินทุนหมุนเวียนสุทธิ (NWC) 6,000 ขายปีละ (หน่วย) 20,000 อัตราการเพิ่มของปริมาณการขาย 0.0% ราคาขายต่อหน่วย 3.00 ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย 2.10 ต้นทุนคงที่ทั้งสิ้น 8,000 ราคาตลาดของอาคารปี 2007 7,500 ราคาตลาดเครื่องจักรปี 2007 2,000 อัตราภาษี 40% ต้นทุนถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก 12% ของเงินทุน (WACC) เงินเฟ้อ : ราคาขายเพิ่มขึ้น 0.0% เงินเฟ้อ : ต้นทุนผันแปร 0.0% ต่อหน่วยเพิ่มขึ้น เงินเฟ้อ : ต้นทุนคงที่เพิ่มขึ้น 0.0% 11 - 22 ส่วนที่ 1 ข้อมูล Input( หน่วย -พันบาท )
ปี ค่าเสื่อมราคา สะสม 4 ปี 0 1 2 3 4 อาคาร (ราคาทุน) 12,000 - อัตราค่าเสื่อมราคา ค่าเสื่อมราคา - อาคาร ราคาตามบัญชี (ราคาทุน - ค่าเสื่อมราคาสะสม) 1.3% 156 2.6% 312 2.6% 312 2.6% 312 1,092 10,908 8,000 เครื่องจักร (ราคาทุน) - 20.0% 1,600 32.0% 2,560 19.0% 1,520 12.0% 960 อัตราค่าเสื่อมราคา ค่าเสื่อมราคา-เครื่องจักร ราคาตามบัญชี 6,400 3,840 2,320 (ราคาทุน - ค่าเสื่อมราคาสะสม) 6,640 1,360 ส่วนที่ 2 11 - 23 ตารางค่าเสื่อมราคา(หน่วย-พันบาท)
อาคาร เครื่องจักร รวม ประมาณราคาตลาดปี 2007 7,500 2,000 ราคาตามบัญชีปี 2007(a) 10,908 1,360 กำไร/ขาดทุนที่คาดว่าจะได้รับ(b) -3,408 640 Taxes paid or tax credit (40%) -1,363 256 กระแสเงินสดสุทธิจากมูลค่าซาก(c)8,863 1,744 10,607 11 - 24 ส่วนที่ 3 มูลค่าซาก (สุทธิ) ปี 2007 (หน่วย-พันบาท)
เงินลงทุน ค่าเสื่อม เริ่มแรก ราคาสะสม (a) ราคาตามบัญชีของอาคาร = 12,000 - 1,092 = 10,908 ราคาตามบัญชีเครื่องจักร = 8,000 - 6,640 = 1,360 (b)อาคารราคาตามบัญชี 10,908 ราคาตลาด 7,500 ขาดทุน 3,408 เครื่องจักรราคาตามบัญชี 1,360 ราคาตลาด 2,000 กำไร 640 (c) กระแสเงินสดสุทธิของมูลค่าซาก = ราคาตลาดของมูลค่าซาก - ภาษี อาคาร : 7,500 - (-1,363) = 8,863 เครื่องจักร : 2,000 - 256 = 1,744 ราคาตามบัญชีของสินทรัพย์ถาวร = 11 - 25 ส่วนที่ 3 มูลค่าซาก (สุทธิ) ปี 2007 (หน่วย-พันบาท) ต่อ
เส้นเวลากระแสเงินสดของโครงการโดยไม่เขียนจำนวนเงินเส้นเวลากระแสเงินสดของโครงการโดยไม่เขียนจำนวนเงิน 2 0 3 4 1 OCF1 OCF3 OCF2 OCF4 เงินลงทุน เริ่มแรก (CF0) + CF สิ้น สุดโครงการ NCF0 NCF1 NCF2 NCF3 NCF4 11 - 26
ส่วนที่ 4 ประมาณกระแสเงินสดสุทธิของโครงการ (หน่วย-พันบาท) 11 - 27 ปี 0 1 2 3 4 เงินลงทุนปี 0 : อาคาร (12,000) เครื่องจักร (8,000) เงินทุนหมุนเวียนสุทธิที่ต้องการเพิ่มขึ้น (6,000) กระแสเงินสดจากการดำเนินงาน ( ตลอดอายุโครงการ ) : ขาย ( หน่วย ) 20,000 20,000 20 ,000 20,000 ราคาขายต่อหน่วย 3.00 3.00 3.00 3.00 รายได้จากการขาย 60,000 60,000 60,000 60,000 ต้นทุนผันแปร 42,000 42,000 42,000 42,000 ต้นทุนคงที่ 8,000 8,000 8,000 8,000 ค่าเสื่อมราคา ( อาคาร ) 156 312 312 312 ค่าเสื่อมราคา ( เครื่องจักร ) 1,600 2,560 1,520 960 กำไรก่อนหักดอกเบี้ยและภาษี ( EBIT) 8,244 7,128 8,168 8,728 2003 2004 2005 2006 2007 - 51,756
ปี 0 1 2 3 4 2003 2004 2005 2006 2007 EBIT (ยอดยกมา) 8,244 7,128 8,168 8,728 ภาษี (40%) 3,298 2,851 3,267 3,491 NOPAT 4,946 4,277 4,901 5,237 บวก ค่าเสื่อมราคา 1,756 2,872 1,832 1,272 กระแสเงินสดจากการดำเนินงาน 6,702 7,149 6,733 6,509 กระแสเงินสดเมื่อสิ้นสุดโครงการ : เงินทุนหมุนเวียนสุทธิได้รับเมื่อสิ้นสุดโครงการ (a) 6,000 มูลค่าซาก(สุทธิ) 10,607 16,607 กระแสเงินสด (สุทธิ) (26,000) 6,702 7,149 6,733 23,116 (a)เงินทุนหมุนเวียนสุทธิจากการขายและเก็บเงินจากลูกหนี้ เมื่อสิ้นสุดโครงการ + 11 - 28 ส่วนที่ 4 ประมาณกระแสเงินสดสุทธิของโครงการ(หน่วย-พันบาท) ต่อ
11 - 29 ส่วนที่ 5 ผลลัพธ์ที่ได้และการประเมินโครงการ (หน่วย-พันบาท ) NPV (12%) 5,166 IRR 19.33% 17.19% MIRR ปี 2 0 1 3 4 Cumulative cash flow for payback (26,000) (19,298) (12,149) (5,416) 17,700 Cum. CF>0, hence Payback Year: FALSE FALSE FALSE FALSE 3.23 See note below for an explanation of the Excel calculation. 3.23 Payback found with Excel function = 3.23 Check : Payback = 3+5,416/23,116 = Manual calculation for the base case.
ต้นทุนถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของเงินทุนต้นทุนถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของเงินทุน 12% NPV = 5,166 ( พันบาท ) NPV เป็น บวก จึง รับโครงการลงทุน IRR และ MIRR สูงกว่าต้นทุนถัวเฉลี่ย ถ่วงน้ำหนักของเงินทุน 12% ตัดสินใจ เหมือนวิธี NPV 11 - 30 สรุป
11 - 31 ข้อสรุปดังกล่าวไม่ได้พิจารณาความเสี่ยง ถ้าผู้บริหารนำความเสี่ยงมาพิจารณาด้วย โดยการเพิ่มต้นทุนถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของ เงินทุน ( WACC ) ผลตอบแทนของโครงการ อาจไม่เพียงพอชดเชยกับความเสี่ยง และ ปฏิเสธโครงการได้
4. การวิเคราะห์ความเสี่ยง ความเสี่ยงมี 3 ประเภท ความเสี่ยงเฉพาะ ( Stand - alone risk ) ( 1 ) ความเสี่ยงของบริษัท ( Corporate risk ) ( 2 ) ความเสี่ยงทางตลาด ( Market risk ) ( 3 ) 11 - 32
11 - 33 ( 1 ) ความเสี่ยงเฉพาะ ( Stand - alone risk ) คือ ความเสี่ยงของโครงการแต่ละโครงการ เช่น เป็นเพียงโครงการ โครงการ ก. หนึ่งที่บริษัท ลงทุนไว้ บริษัท A ความเสี่ยงของแต่ละโครงการ วัดจากความไม่แน่นอนของผลตอบแทนที่ คาดว่าจะได้รับจากโครงการนั้น โครงการ ก. โครงการ ก.
11 - 34 ( 2 ) ความเสี่ยงของบริษัท ( Corporate risk ) คือ ความเสี่ยงของโครงการต่างๆ ที่มีผลกระทบต่อบริษัท บริษัท A ความเสี่ยงนี้สามารถกระจายได้บางส่วน เพราะ ลงทุนไว้หลายโครงการ บริษัท A โครงการ ก,ข,ค,ฯลฯ ความเสี่ยงนี้วัดจาก ผลกระทบจากโครงการที่มีต่อ ความไม่แน่นอนของรายได้ในอนาคตของบริษัท
11 - 35 ( 3 ) ความเสี่ยงทางตลาด ( Market risk ) คือ ความเสี่ยงของโครงการ ที่ยังเหลืออยู่
ผู้ลงทุน กระจายความเสี่ยงดีแล้ว นายวุฒิ เมื่อลงทุนซื้อ หลักทรัพย์ บริษัท A เป็นโครงการหนึ่งของ โครงการ ก. บริษัท A หลักทรัพย์ บริษัท A ถือไว้เป็น ที่ นายวุฒิ ส่วนหนึ่งของ portfolio ของ นายวุฒิ ความเสี่ยงทางตลาดวัดโดยผลกระทบของ โครงการที่มีต่อค่าเบต้า ( b ) ของบริษัท 11 - 36 ตัวอย่าง
11 - 37 นายวุฒิ ( ผู้ลงทุน ) กระจายความเสี่ยงดีแล้ว โครงการ ก หุ้นสามัญบริษัท A บริษัท A หุ้นบุริมสิทธิ บริษัท ข. หุ้นสามัญ บริษัท ค. หุ้นกู้แปลงสภาพ บริษัท ง. Portfolio บริษัท A พันธบัตรรัฐบาล โครงการ
ความเสี่ยงประเภทใดสำคัญที่สุด เพราะเหตุใด ถาม ความเสี่ยงทางตลาดสำคัญที่สุด ตอบ เนื่อง จาก ความ เสี่ยง นี้ มีผลกระทบต่อต้นทุนถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก ของเงินทุน b WACC มีผลกระทบต่อความสามารถในการทำกำไร b Profitability มีผลกระทบต่อราคาหุ้นสามัญ b ราคาหุ้นสามัญ 11 - 38
11 - 39 5. เทคนิคการวัดความเสี่ยงเฉพาะ ( Stand - alone risk ) เหตุใดความเสี่ยงเฉพาะจึงมีความสำคัญ ถาม 1 เมื่อเปรียบเทียบการวัดความเสี่ยง ทั้ง 3 แบบ ตอบ การประมาณ ความเสี่ยงของ บริษัท ง่ายกว่า การประมาณ ความเสี่ยงเฉพาะ ของโครงการ ยิ่งง่ายกว่า การประมาณความ เสี่ยงทางตลาด คำตอบข้อ 2 หน้าถัดไป
11 - 40 2 ความเสี่ยงทั้ง 3 มีความสัมพันธ์กันสูง เพราะถ้า ภาวะเศรษฐกิจดี บริษัทจะมีผลการดำเนินงานดี โครงการต่างๆ จะดี กิจการจึงใช้ความเสี่ยงเฉพาะเป็นตัวแทน ในการวัดความเสี่ยงของบริษัทและ ความเสี่ยงทางตลาดโดยประมาณได้ สรุป
11 - 41 การประเมินความเสี่ยงเฉพาะ 3 วิธี ( 1 ) Sensitivity Analysis ( 2 ) Scenario Analysis Monte Carlo Simulation ( 3 )
การวิเคราะห์ว่าเมื่อปัจจัยหนึ่ง การวิเคราะห์ว่าเมื่อปัจจัยหนึ่ง ( Input Variable ) เปลี่ยนแปลงไป ปัจจัย อื่นๆ คงที่ จะทำให้ NPV เปลี่ยนแปลงไปอย่างไร 11 - 42 ( 1 ) Sensitivity Analysis คือ
ทำให้ทราบว่าตัวแปรใดมีผล กระทบต่อความสามารถในการ ทำกำไรสูง ซึ่งฝ่ายบริหารจะ ต้องให้ความสนใจเป็นพิเศษ ตอบ 11 - 43 Sensitivity Analysis มีข้อดีอย่างไร ถาม มีข้อดี คือ
NPV AT DIFFERENT DEVIATIONS FROM BASE (พันบาท) DEVIATION FROM SALES VARIABLE GROWTH YEAR 1 FIXED BASE CASE PRICE COST/UNIT RATE UNITS SOLD COST WACC -30% (27,637) 28,129 (5,847) (4,675) 9,540 8,294 -15 (11,236) 16,647 (907) 246 7,353 6,674 0 5,166 5,166 5,166 5,166 5,166 5,166 15 21,568 (6,315) 12,512 10,087 2,979 3,761 30 37,970 (17,796) 21,269 15,007 792 2,450 Range 65,607 45,925 27,116 19,682 8,748 5,844 ข้อมูลนี้นำมาพล็อตกราฟได้ตามหน้าถัดไป 11 - 44 การประเมินความเสี่ยงวิธี Sensitivity Analysis
ราคาขาย 30,000 อัตราการเจริญ เติบโต 20,000 ปริมาณการขาย 10,000 WACC 0 ต้นทุนคงที่ -10,000 ต้นทุนผันแปร -20,000 -30,000 -30 -15 0 15 30 Deviation from Base- Case Value (%) 11 - 45 NPV (บาท)
11 - 46 ( 2 ) Scenario Analysis คือ การวิเคราะห์ความเสี่ยงตามสภาวะ ของเหตุการณ์ที่คาดว่าจะมีโอกาส เกิดขึ้น โดยนำการกระจายความน่า จะเป็นของตัวแปรต่างๆมาพิจารณา
Scenario ราคาขาย ขาย VCGrowth NPV Prob NPV X Prob. ต่อหน่วย (หน่วย) ต่อหน่วย Rate Best Case 3.90 26,000 1.47 30% 144,024 0.25 36,006 Base Case 3.00 20,000 2.10 0 5,166 0.50 2,583 Worst Case 2.10 14,000 2.73 -30 (38,315) 0.25 (9,579) Expected NPV = ผลบวกของ (NPV X Prob) 29,010 SD 68,735 CV = SD / Expected NPV 2.37 คำนวณประกอบหน้าถัดไป 11 - 47 ตัวอย่าง Scenario Analysis (หน่วย-พันบาท )
Expected NPV= 0.25 (144,024) + 0.5 (5,166) + 0.25 (-38,315) = 29,010 พันบาท ? NPV [0.25 (144,024-29,010)2+ 0.5 (5,166-29,010)2 +0.25 (-38,315-29,010)2] = 68,735 พันบาท CV NPV= 68,735 / 29,010 = 2.37 = คำนวณประกอบ : 11 - 48
11 - 49 ถาม ถ้าธุรกิจโดยเฉลี่ยมี CV = 1.25 - 1.75 โครงการนี้ CV = 2.37 มีความเสี่ยง สูง ปานกลาง ต่ำ มีความเสี่ยงสูง
a . Probability Graph Probability (%) 50 25 NPV 29,010 (38,315) 0 144,024 5,166 Most likely Mean of distribution 11 - 50 Scenario Analysis (พันบาท)
b. Continuous Approximation Probability density NPV 144,024 0 29,010 (38,315) 5,166 11 - 51 Scenario Analysis ( พันบาท )
11 - 52 ( 3 ) Monte Carlo Simulation คือ การวิเคราะห์ความเสี่ยงโดยการสุ่มตัวแปรแล้วใช้ คอมพิวเตอร์ช่วยวิเคราะห์ NPV และบันทึกไว้ ทำซ้ำๆ กันเช่นนี้แล้วจึงหาค่าเฉลี่ย SD (หรือ CV) ของ NPV เพื่อวัดความสามารถในการทำกำไรและ ความเสี่ยงของโครงการ