1.03k likes | 1.65k Views
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม. สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ. กรมบัญชีกลาง. ระบบการเงินการคลังของหน่วยงาน. พัสดุ. งบประมาณ. บัญชี. การเงิน. สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ. หลักการบริหารพัสดุ. สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ.
E N D
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ กรมบัญชีกลาง
ระบบการเงินการคลังของหน่วยงานระบบการเงินการคลังของหน่วยงาน พัสดุ งบประมาณ บัญชี การเงิน สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
หลักการบริหารพัสดุ สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุแบ่งออกเป็น 5 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4 ระยะที่ 5 การกำหนดความต้องการและการของบประมาณ การเตรียมการจัดซื้อจัดจ้าง การจัดซื้อจัดจ้าง การบริหารสัญญา การควบคุมและจำหน่ายพัสดุ สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
การจ้างออกแบบและควบคุมงานการจ้างออกแบบและควบคุมงาน ประเภทของการจัดหา การเช่า การแลกเปลี่ยน การจ้างที่ปรึกษา การจ้าง การซื้อ การจัดทำเอง
ความหมาย: การซื้อ การซื้อทุกชนิดที่มีการติดตั้ง ทดลอง และบริการอื่นที่เกี่ยวเนื่อง การซื้อโดยระบุยี่ห้อสินค้าได้หรือไม่? ตามมติ ครม. แจ้งตามหนังสือสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ สร 0203/ว 52 ลงวันที่ 28 มีนาคม 2520 กำหนดห้ามมิให้ส่วนราชการระบุยี่ห้อสินค้าที่จะซื้อ หรือกำหนดคุณลักษณะเฉพาะให้ใกล้เคียงยี่ห้อใดยี่ห้อหนึ่ง ข้อยกเว้นเว้นแต่เป็นพัสดุที่โดยลักษณะของการใช้งานหรือมีข้อจำกัดทางเทคนิคที่จำเป็นต้องระบุยี่ห้อเป็นการเฉพาะ ตามระเบียบฯ ข้อ 23 (6) ดังนั้น ในกรณีจำเป็นต้องระบุยี่ห้อ ควรใช้วิธีพิเศษ จะใช้สอบราคาหรือประกวดราคามิได้
ความหมาย: การจ้าง การจ้าง : การจ้างทำของ การรับขนตาม ปพพ. และการจ้างเหมาบริการ แต่ไม่รวมถึงการจ้างลูกจ้างของส่วนราชการการรับขนในการเดินทางไปราชการ การจ้างที่ปรึกษา การจ้างออกแบบและควบคุมงาน และการจ้างแรงงาน
ความหมาย:งานก่อสร้าง • หมายถึง - งานก่อสร้างตามหลักทั่วไปที่มีกฎหมาย ระเบียบ มติคณะรัฐมนตรีหรือหนังสือเวียนที่เกี่ยวข้องอ้างอิงได้ • หมายความรวมถึง • 1. งานเคลื่อนย้ายอาคาร • 2. งานดัดแปลง งานต่อเติม งานรื้อถอนและงานซ่อมแซมซึ่งส่วนราชการเห็นว่ามีความจำเป็นจะต้องมีการควบคุม และดูแลการปฏิบัติงานของผู้รับจ้างตลอดเวลาดำเนินการตามความเหมาะสม • (ที่ นร (กวพ)1204/ว 1939 ลว 24 ก.พ.2537) สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
การมอบอำนาจ ผู้มีอำนาจ ดำเนินการ ตามระเบียบฯ (ส่วนกลาง: อธิบดี/ หน.สรก ที่เรียกชื่อ อย่างอื่น และมีฐานะ เป็นนิติบุคคล ส่วนภูมิภาค : ผู้ว่า-ราชการจังหวัด) คำนึงถึงระดับ ตำแหน่งหน้าที่และ ความรับผิดชอบของ ผู้ที่จะได้รับมอบอำนาจเป็นสำคัญ (ผู้รับมอบอำนาจจะมอบ อำนาจให้แก่ผู้ดำรงตำแหน่ง อื่นต่อไปไม่ได้) มอบอำนาจ เป็นหนังสือ ให้แก่ผู้ดำรง ตำแหน่งใดก็ได้
การมอบอำนาจ (ต่อ) มอบอำนาจต่อตามระเบียบกระทรวงกลาโหม ผู้มอบ อำนาจ มอบอำนาจให้แก่ ผู้ว่าราชการจังหวัด ผู้ว่าฯ สามารถมอบอำนาจต่อ แจ้ง บุคคลอื่น รองผู้ว่าฯ , ผู้ช่วยผู้ว่าฯ , ปลัดจังหวัด , หัวหน้าส่วนราชการ ประจำจังหวัด ได้รับความเห็นชอบ
วิธีการจัดซื้อหรือจ้างวิธีการจัดซื้อหรือจ้าง • วิธีตกลงราคา ไม่เกิน 100,000 บาท • วิธีสอบราคา เกิน 100,000 บาท ไม่เกิน 2,000,000 บาท • วิธีประกวดราคา เกิน 2,000,000 บาท • วิธีพิเศษ เกิน 100,000 บาท แต่มีเงื่อนไข • วิธีกรณีพิเศษ ไม่มีกำหนดวงเงิน แต่มีเงื่อนไข • วิธีประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auction) • ตามระเบียบฯ พัสดุ ปี 49 11
คณะกรรมการตามระเบียบพัสดุฯ 35 คณะกรรมการเปิดซองสอบราคา คณะกรรมการรับ และเปิดซองประกวดราคา คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา คณะกรรมการจัดซื้อโดยวิธีพิเศษ คณะกรรมการจัดจ้างโดยวิธีพิเศษ คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ คณะกรรมการตรวจการจ้าง+ ผู้ควบคุมงาน
ข้อห้าม !! • แต่งตั้งกรรมการรับและเปิดซองประกวดราคา • เป็น กรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา • แต่งตั้งกรรมการเปิดซองสอบราคาหรือ กรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาเป็น กรรมการตรวจรับพัสดุ
องค์ประกอบของคณะกรรมการองค์ประกอบของคณะกรรมการ • ประธาน 1 คน • กรรมการอื่นอย่างน้อย 2 คน • แต่งตั้งจากข้าราชการ พนักงานราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย หรือพนักงานของรัฐ ** ทั้งนี้ โดยคำนึงถึงลักษณะหน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ที่ได้รับแต่งตั้งเป็นสำคัญ ** ในกรณีจำเป็นหรือเพื่อประโยชน์ของทางราชการ จะแต่งตั้งบุคคลอื่นอีกไม่เกิน 2 คน ร่วมเป็นกรรมการด้วยก็ได้ (ปรับปรุงตามระเบียบฯ ฉบับที่ 7 พ.ศ. (2552) ) สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
การประชุมของคณะกรรมการการประชุมของคณะกรรมการ
กรณีประธานไม่มาปฏิบัติหน้าที่กรณีประธานไม่มาปฏิบัติหน้าที่ เมื่อถึงกำหนดเวลาเปิดซองสอบราคา หรือ รับซองประกวดราคา ให้กรรมการที่มาเลือกกรรมการคนหนึ่งทำหน้าที่ประธาน โดยให้ปฏิบัติหน้าที่เฉพาะข้อ 42 (1) หรือข้อ 49 แล้วรายงานประธานกรรมการซึ่งหัวหน้าส่วนราชการแต่งตั้งเพื่อดำเนินการต่อไป
โครงสร้างของอำนาจตามระเบียบโครงสร้างของอำนาจตามระเบียบ • อำนาจดำเนินการ • - อำนาจในการให้ความเห็นชอบในการซื้อจ้าง • - อำนาจในการแต่งตั้งคณะกรรมการ • อำนาจสั่งซื้อสั่งจ้าง • อำนาจลงนามในสัญญา
ผู้มีอำนาจอนุมัติสั่งซื้อ / สั่งจ้าง นอกจากวิธีพิเศษ / กรณีพิเศษ 1. หัวหน้าส่วนราชการ (ไม่เกิน 50 ล้านบาท) 2. ปลัดกระทรวง (เกิน 50 ล้านบาท ไม่เกิน 100 ล้านบาท) 3. รัฐมนตรี (เกิน 100 ล้านบาท) 4. ผู้ที่ได้รับมอบอำนาจ
ผู้มีอำนาจอนุมัติสั่งซื้อ / สั่งจ้าง โดยวิธีพิเศษ 1. หัวหน้าส่วนราชการ (ไม่เกิน 25 ล้านบาท) 2. ปลัดกระทรวง (เกิน 25 ล้านบาท ไม่เกิน 50 ล้านบาท) 3. รัฐมนตรี (เกิน 50 ล้านบาท) โดยวิธีกรณีพิเศษ - หัวหน้าส่วนราชการไม่จำกัดวงเงิน
การแบ่งซื้อแบ่งจ้าง การแบ่งซื้อ แบ่งจ้าง หมายถึง การลดวงเงินที่จะซื้อ หรือจ้างในครั้งเดียวกัน ออกเป็นหลายครั้ง โดยไม่มีเหตุผลความจำเป็น และมีเจตนาที่จะหลีกเลี่ยง 1) แบ่งวงเงิน ให้ลดลงเพื่อเปลี่ยนวิธีจัดหาพัสดุ 2) ให้ผู้มีอำนาจสั่งซื้อ สั่งจ้าง เปลี่ยนไป
วงเงินที่ได้รับมาพร้อมกันหรือไม่ วงเงินที่ได้รับมาพร้อมกันหรือไม่ พัสดุที่จะจัดหาเป็นประเภทเดียวกันหรือไม่ พิจารณาจากความต้องการของผู้ใช้พัสดุว่าต้องการใช้พร้อมกันหรือไม่ แนวทางการพิจารณาเรื่องแบ่งซื้อแบ่งจ้าง
Q กรณีได้รับงบประมาณในการจัดซื้อครุภัณฑ์หลายประเภทในคราวเดียวกัน เช่น คอมพิวเตอร์พร้อมอุปกรณ์ 100 เครื่อง เป็นเงิน 1,500,000 บาท เครื่องตัดหญ้า 10 เครื่อง เป็นเงิน 650,000 บาท จะต้องดำเนินการจัดซื้อในคราวเดียวกันหรือไม่อย่างไร?
ทำรายงานขอซื้อ/จ้าง วิธีจัดซื้อจัดจ้างทั่วไป 6 วิธี - หัวหน้าส่วนราชการ - ปลัดกระทรวง/ทบวง - รัฐมนตรีเจ้าสังกัด ดำเนินการจัดหา ขออนุมัติ หัวหน้าส่วนราชการ การทำสัญญา - คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ - คณะกรรมการตรวจการจ้าง - ผู้ควบคุมงาน การตรวจรับ ขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้าง
การจัดทำรายงานขอซื้อขอจ้าง ...จัดทำเมื่อใด ? หลักการ ** ก่อนการจ้างทุกวิธี ต้องทำรายงานขอซื้อหรือขอจ้าง** เว้นแต่ การจัดหาโดยวิธี e-Auction ให้ดำเนินการภายหลังจากขั้นตอนการจัดทำและวิจารณ์ TORเสร็จสิ้นแล้ว
รายละเอียดของรายงาน • เหตุผลความจำเป็นที่ต้องซื้อหรือจ้าง • รายละเอียดของพัสดุ • ราคามาตรฐาน หรือ ราคากลาง หรือ ราคาครั้งหลังสุดไม่เกิน 2 ปีงบประมาณ • วงเงินที่จะซื้อ / จ้าง ระบุวงเงิน งปม. เงินกู้ เงินช่วยเหลือ ที่จะซื้อ/จ้างในครั้งนั้น • กำหนดเวลาที่ต้องการใช้พัสดุ • วิธีจะซื้อ / จ้าง และเหตุผลที่ต้องซื้อ/จ้างโดยวิธีนั้น • ข้อเสนออื่น ๆ • - การแต่งตั้งคณะกรรมการ • - การออกประกาศสอบราคา หรือ • ประกวดราคา
การดำเนินการโดยวิธีตกลงราคาการดำเนินการโดยวิธีตกลงราคา 3 เจ้าหน้าที่ พัสดุ 4 ติดต่อ 1 เสนอราคา รายงาน (27) 5 ใบสั่ง ผู้ขาย/ผู้รับจ้าง หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ ส่งของ/งาน 6 เห็นชอบ (29) 2 คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ/ ตรวจการจ้าง ผู้ตรวจรับพัสดุ/ผู้ตรวจรับการจ้าง หัวหน้าส่วนราชการ
การดำเนินการโดยวิธีตกลงราคาการดำเนินการโดยวิธีตกลงราคา ข้อยกเว้น วิธีการ • เจ้าหน้าที่พัสดุ หรือผู้รับผิดชอบ • ดำเนินการไปก่อน • รายงานขอความเห็นชอบหัวหน้าส่วนราชการ • ใช้รายงานเป็นหลักฐาน • การตรวจรับ • กรณีจำเป็นเร่งด่วน • ไม่ได้คาดหมายไว้ก่อน • ดำเนินการตามปกติไม่ทัน
การตรวจสอบผู้เสนอราคาที่มีผลประโยชน์ร่วมกัน(ระเบียบข้อ 5 ประกอบข้อ 15 ตรี วรรคสอง) ผู้เสนอราคาที่มีผลประโยชน์ร่วมกัน หมายถึง 1. บุคคล /นิติบุคคล เป็นผู้มีส่วนได้เสีย (ทางตรง/อ้อม) รวมคู่สมรส/บุตรยังไม่บรรลุนิติภาวะ ได้แก่ - มีความสัมพันธ์ในเชิงบริหาร - มีความสัมพันธ์ในเชิงทุน - มีความสัมพันธ์ในลักษณะไขว้กัน 2. เข้าเสนอราคา /เสนองาน ในคราวเดียวกัน
ความสัมพันธ์ในเชิงทุนความสัมพันธ์ในเชิงทุน • หุ้นส่วนในห้างหุ้นส่วนสามัญ • หุ้นส่วนไม่จำกัดความรับผิดใน หจก. • ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ใน บจก., บ.มหาชน (>25% / กวพ.กำหนด) • หุ้นส่วนในห้างหุ้นส่วนสามัญ/หจก. • ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ใน บจก./บมจ.
ความสัมพันธ์ในเชิงบริหารความสัมพันธ์ในเชิงบริหาร • ผู้จัดการ • หุ้นส่วนผู้จัดการ • กรรมการผู้จัดการ • ผู้บริหาร • ผู้มีอำนาจในการดำเนินงาน มีอำนาจหรือสามารถใช้อำนาจในการบริหารจัดการกิจการ บุคคลหรือนิติบุคคล อีกรายหนึ่งหรือหลายราย
ความสัมพันธ์ในลักษณะไขว้กันความสัมพันธ์ในลักษณะไขว้กัน • ผู้จัดการ • หุ้นส่วนผู้จัดการ • กรรมการผู้จัดการ • ผู้บริหาร • ผู้มีอำนาจในการดำเนินงาน • หุ้นส่วนในห้างหุ้นส่วน • สามัญ/หจก. • ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ใน • บจก./บมจ.
ตัวอย่าง: ผู้เสนอราคาที่มีผลประโยชน์ร่วมกัน เชิงบริหาร เชิงทุน เชิงไขว้
การดำเนินการโดยวิธีสอบราคาการดำเนินการโดยวิธีสอบราคา ข้อ 27 เจ้าหน้าที่พัสดุ หัวหน้าส่วนราชการ ข้อ 29 • - ก่อนวันเปิดซองสอบราคาไม่น้อยกว่า 10 วัน สำหรับสอบราคาในประเทศ หรือ ไม่น้อยกว่า 45 วัน สำหรับสอบราคานานาชาติ • - จนท. พัสดุส่งประกาศเผยแพร่เอกสารสอบฯ ไปยังผู้มีอาชีพขายหรือรับจ้างโดยตรง หรือ ทางไปรษณีย์ลงทะเบียนให้มากที่สุด • ปิดประกาศเผยแพร่ ณ ที่ทำการโดยเปิดเผย • - ประกาศเผยแพร่ในเว็บไซต์หน่วยงาน+ กรมบัญชีกลาง (ตามมติ ครม. ) จัดทำประกาศ (ข้อ 40) เผยแพร่เอกสาร
การดำเนินการโดยวิธีสอบราคาการดำเนินการโดยวิธีสอบราคา - ผู้เสนอราคาจะต้องผนึกซองจ่าหน้าถึง ประธานกรรมการ การยื่นซอง - ยื่นซองด้วยตนเอง / ทางไปรษณีย์ (กรณีที่กำหนดไว้) - เจ้าหน้าที่ลงรับโดยไม่เปิดซอง - ระบุวันและเวลาที่รับซอง การรับซอง - ส่งมอบซองให้แก่หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุทันที • หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุส่งให้ คกก. เปิดซอง สอบราคาในวันเปิดซอง การเก็บรักษาซอง - หนังสือเวียน ด่วนมาก ที่ นร (กวพ)1305/ว 7286 ลว. 20 ส.ค. 42 ให้ส่งมอบโดยพลัน หลังครบกำหนด รับซอง
การดำเนินการโดยวิธีสอบราคาการดำเนินการโดยวิธีสอบราคา คณะกรรมการเปิดซองสอบราคา (ข้อ 42) ขั้นที่ 1ตรวจสอบผู้เสนอราคาที่มีผลประโยชน์ร่วมกัน + ประกาศชื่อผู้ผ่านการตรวจสอบ ขั้นที่ 2 เปิดซองใบเสนอราคาเฉพาะผู้ไม่มีผลประโยชน์ร่วมกัน + อ่านแจ้งราคา บัญชีรายการเอกสารหลักฐาน + ลงชื่อกำกับ ตรวจสอบคุณสมบัติของผู้เสนอราคา ใบเสนอราคา แคตตาล็อกหรือแบบรูปรายการละเอียด แล้วคัดเลือกผู้เสนอราคาที่ถูกต้องตามเงื่อนไขในเอกสารสอบราคา
ขั้นที่ 3คัดเลือกพัสดุหรืองานจ้างที่ผ่านขั้นตอนที่ 2 ที่มีคุณภาพและคุณสมบัติเป็นประโยชน์ต่อทางราชการ ** หนังสือ ที่ นร (กวพ) 0901/ว 48 ลว. 14 ก.ค. 29 การคัดเลือกคุณภาพและคุณสมบัติดังกล่าว มุ่งหมายถึง การพิจารณาจากเกณฑ์ในส่วนที่ ไม่สามารถกำหนดไว้เป็นเงื่อนไขในประกาศ เช่น ประวัติการบริการหลังการขาย หรือประวัติการใช้งานของสิ่งของนั้นๆ** การดำเนินการโดยวิธีสอบราคา ข้อสังเกต รายที่เลือกไม่ยอมเข้าทำสัญญา ให้พิจารณารายต่ำถัดไป ราคาเท่ากันหลายราย ให้ผู้ที่เสนอราคาดังกล่าวยื่นซองใหม่ ถูกต้องตามเอกสารสอบราคารายเดียว ให้ดำเนินการตามขั้นที่ 3 โดยอนุโลม ขั้นที่ 4เสนอให้ซื้อหรือจ้างจากรายที่คัดเลือกไว้แล้ว ซึ่งเสนอราคาต่ำสุด ขั้นที่ 5รายงานผลและความเห็น ต่อหัวหน้าส่วนราชการเพื่อสั่งการ
การดำเนินการโดยวิธีสอบราคาการดำเนินการโดยวิธีสอบราคา กรณีเกินวงเงิน (ข้อ 43) • เรียกรายต่ำสุดมาต่อรองให้อยู่ในวงเงินหรือ • สูงกว่าไม่เกิน 10 % • ถ้าไม่ได้ผลให้เรียกทุกรายมายื่นซองใหม่ • ถ้าไม่ได้ผล ให้เสนอความเห็นต่อ หน.สรก. ว่าสมควรจะ ลดรายการ ลดจำนวน หรือลดเนื้องาน หรือขอเงิน เพิ่มเติม หรือยกเลิกการสอบราคา
การจัดทำเอกสารประกวดราคาการจัดทำเอกสารประกวดราคา • รูปแบบ : เอกสารประกวดราคา • กวพ. กำหนด • แบบที่ผ่านการตรวจสอบจากสำนักงานอัยการสูงสุด
การดำเนินการโดยวิธีประกวดราคา ข้อ 27 หัวหน้าส่วนราชการ เจ้าหน้าที่พัสดุ ข้อ 29 - ทำตามตัวอย่างที่ กวพ. กำหนด - แตกต่างหรือไม่รัดกุมส่ง สำนักงานอัยการสูงสุดตรวจ จัดทำเอกสาร (ข้อ 44)
ในตู้ปิดประกาศมีกุญแจปิด ในตู้ปิดประกาศมีกุญแจปิด • มีผู้ปิดและผู้ปลดประกาศ ซึ่งมิใช่ คนเดียวกัน และมีพยานรับรองด้วย การดำเนินการโดยวิธีประกวดราคา ส่งไปรษณีย์ EMS การประกาศข่าวการประกวดราคา • ปิดประกาศ ณ ที่ทำการ • ส่งวิทยุกระจายเสียงและหนังสือพิมพ์ • ส่งกรมประชาสัมพันธ์ • ส่งองค์การสื่อสารมวลชน แห่ง ปทท. • ส่งศูนย์รวมข่าวประกวดราคา • ส่ง สตง. • ประกาศลงในเว็บไซต์หน่วยงานและ • กรมบัญชีกลาง (ตามมติ ครม.)
การดำเนินการโดยวิธีประกวดราคา ประกาศ • ไม่น้อยกว่า 7 วัน ทำการ • ไม่น้อยกว่า 7 วัน ทำการ ให้/ขาย • ห้ามมีเงื่อนไขในการให้/ขาย คำนวณราคา • ไม่น้อยกว่า 7 วัน ทำการ • ห้ามร่นหรือเลื่อนวันรับซอง และ เปิดซองประกวดราคา วันรับซองประกวดราคา
การยกเลิกหรือเลื่อนการประกวดราคาการยกเลิกหรือเลื่อนการประกวดราคา • กรณีประกวดราคาไปแล้วมีเหตุจำเป็นต้องเลื่อน โดยไม่มีกำหนดแน่นอน ให้ยกเลิก เมื่อมีการประกวดราคาใหม่ให้ดำเนินการตามระเบียบ ข้อ 46 วรรคท้าย • กรณียกเลิกและไม่มีการประกวดราคาใหม่ ให้แจ้งผู้ซื้อเอกสารให้ขอคืนเงินค่าซื้อภายใน 30 วันนับแต่ได้รับแจ้ง หนังสือเวียน ที่ นร (กวพ) 1305/ว 4352 ลว 5 มิ.ย./2541
การดำเนินการโดยวิธีประกวดราคา คณะกรรมการรับและเปิดซองประกวดราคา- รับซองประกวดราคา/ลงทะเบียน/ลงชื่อกำกับ- ตรวจหลักประกันซองร่วมกับเจ้าหน้าที่การเงิน กรณีหลักประกันซองเป็นหนังสือค้ำประกัน ส่งสำเนาให้ธนาคาร- รับเอกสารตามบัญชีรายการ หากไม่ถูกต้องให้บันทึกไว้ - พ้นกำหนดเวลารับซอง ห้ามรับซองประกวดฯ/เอกสาร (คกก.ชุดนี้ มีเพียงแต่หน้าที่ ไม่มีอำนาจที่จะพิจารณาตัดสิทธิผู้เสนอราคา)
การดำเนินการโดยวิธีประกวดราคา • คณะกรรมการรับและเปิดซองประกวดราคา • - ส่งเอกสารส่วนที่ 1 ให้คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวด ราคาเพื่อตรวจสอบผู้มีผลประโยชน์ร่วมกัน • เปิดซองและอ่านแจ้งราคาโดยเปิดเผยเฉพาะรายที่ผ่าน การตรวจสอบผู้มีผลประโยชน์ร่วมกัน • - ลงลายมือชื่อกำกับเอกสารทุกฉบับ • - ส่งมอบเรื่องทั้งหมดให้คณะกรรมการพิจารณา ผลการประกวดราคา
การดำเนินการโดยวิธีประกวดราคา คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา - ตรวจสอบคุณลักษณะเฉพาะ ยกเลิก/ดำเนินการต่อไป - คัดเลือกสิ่งของ/งานจ้าง - ถูกต้องรายเดียว (51) - พิจารณาราคา เกณฑ์ปกติ ยกเลิก - ไม่มีผู้เสนอราคา หรือไม่ถูกต้องตาม spec (52) - เท่ากันหลายราย - สูงกว่าวงเงิน รายต่ำสุด - ประกวดราคาใหม่ จะไม่ได้ผลดี ยื่นซองใหม่ อนุโลมข้อ 43 ใช้วิธีพิเศษ
การดำเนินการซื้อโดยวิธีพิเศษ (1) รายงาน ข้อ 27 หัวหน้าส่วนราชการ จนท. พัสดุ ให้ความเห็นชอบ 29 เงื่อนไข (ข้อ 23) วงเงินเกินหนึ่งแสนบาท วิธีการ (ข้อ 57) เจรจาตกลงราคา - จะขายทอดตลาด เชิญผู้มีอาชีพขายมาเสนอราคาและต่อรอง - เร่งด่วนช้าเสียหาย - ราชการลับ เชิญผู้มีอาชีพขายมาเสนอราคาและต่อรอง - ซื้อเพิ่ม (Repeat Order) เจรจาผู้ขายรายเดิม เงื่อนไขเดิม ราคาเดิมหรือดีกว่า
เงื่อนไข (ข้อ 23) วงเงินเกินหนึ่งแสนบาท วิธีการ (ข้อ 57) สั่งตรงโดยให้หน่วยงานอื่นในต่างประเทศสืบราคาให้ - ซื้อจากต่างประเทศ เชิญผู้ผลิต/ผู้แทนจำหน่ายมาเสนอราคาและต่อรอง - จำเป็นต้องระบุยี่ห้อ - ซื้อที่ดินและสิ่งก่อสร้างเฉพาะ เชิญเจ้าของมาตกลงราคา การดำเนินการซื้อโดยวิธีพิเศษ (2) สืบราคาจากผู้มีอาชีพขายและผู้เสนอราคาที่ถูกยกเลิกไป (ถ้ามี) ต่อรองราคา - ดำเนินงานโดยวิธีอื่นแล้ว ไม่ได้ผลดี
รายงาน ข้อ 27 หัวหน้าส่วนราชการ จนท. พัสดุ ให้ความเห็นชอบ 29 เงื่อนไข (ข้อ 24) วงเงินเกิน 1 แสนบาท วิธีการ (ข้อ 58) - เชิญผู้มีอาชีพโดยตรงมาเสนอราคา - กรณีเป็นงานที่ต้องใช้ช่างฝีมือโดย เฉพาะหรือชำนาญโดยพิเศษ - เชิญผู้มีอาชีพโดยตรงมาเสนอราคา - กรณีเป็นงานจ้างซ่อมที่ไม่ทราบ ความเสียหาย - เชิญผู้มีอาชีพโดยตรงมาเสนอราคา - เร่งด่วนช้าเสียหาย การดำเนินการจ้างโดยวิธีพิเศษ (1)
เชิญผู้มีอาชีพโดยตรงมาเสนอราคาเชิญผู้มีอาชีพโดยตรงมาเสนอราคา ราชการลับ เจรจากับผู้รับจ้างรายเดิม ราคาต่ำกว่าหรือราคาเดิม จ้างเพิ่ม (Repeat Order) สืบราคาจากผู้มีอาชีพรับจ้างและผู้เสนอราคาที่ถูกยกเลิกไป (ถ้ามี) ต่อรองราคา ดำเนินการโดยวิธีอื่นไม่ได้ผลดี การดำเนินการจ้างโดยวิธีพิเศษ (2)
(ข้อ27) จนท.พัสดุ หัวหน้าส่วนราชการ (ข้อ29) - วงเงินเกิน 100,000 บาท หส.ราชการเป็นผู้สั่งซื้อหรือจ้าง - วงเงินไม่เกิน 100,000 บาท เป็นอำนาจ หัวหน้า จนท.พัสดุ ติดต่อตกลงราคา กับผู้ขายหรือผู้รับจ้าง เงื่อนไข : ส่วนราชการ /รัฐวิสาหกิจหน่วยงานตามกฎหมายท้องถิ่น 1. เป็นผู้ทำ/ผลิตเองและนายกรัฐมนตรีอนุมัติ หลักการแล้ว 2. มีกฎหมาย/มติคณะรัฐมนตรี ให้ผู้ซื้อ/จ้าง การดำเนินการซื้อและการจ้างโดยวิธีกรณีพิเศษ