1 / 10

แนวทางการพัฒนากิจกรรมลูกเสือ

แนวทางการพัฒนากิจกรรมลูกเสือ. ภาคกลางและภาคตะวันออก. วิเคราะห์การบริหารงานของ สพท. บุคลากร. นโยบาย. นโยบายไม่ชัดเจน ผู้บริหารไม่ค่อยให้ความสำคัญ. ปัญหา. ขาดความรู้และประสบการณ์ ขาดความตระหนัก จำนวนไม่เหมาะสมกับภาระงาน. งบปะมาณ. ค่ายลูกเสือ. การมีส่วนร่วม. งบประมาณน้อย

dara
Download Presentation

แนวทางการพัฒนากิจกรรมลูกเสือ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางการพัฒนากิจกรรมลูกเสือแนวทางการพัฒนากิจกรรมลูกเสือ ภาคกลางและภาคตะวันออก

  2. วิเคราะห์การบริหารงานของ สพท. บุคลากร นโยบาย • นโยบายไม่ชัดเจน • ผู้บริหารไม่ค่อยให้ความสำคัญ ปัญหา • ขาดความรู้และประสบการณ์ • ขาดความตระหนัก • จำนวนไม่เหมาะสมกับภาระงาน งบปะมาณ ค่ายลูกเสือ การมีส่วนร่วม • งบประมาณน้อย • - ด้านพัฒนาบุคลากร • - ด้านการจัดกิจกรรม • บาง สพท.ไม่มีค่าย • งบพัฒนาน้อย • หน่วยงานภาครัฐ เอกชน ชุมชน มีส่วนร่วมน้อย

  3. ข้อเสนอแนะ/แนวทางการแก้ไขปัญหาข้อเสนอแนะ/แนวทางการแก้ไขปัญหา • นโยบาย • นโยบายหน่วยเหนือชัดเจน มีความสอดคล้องกับระดับล่าง • แผนพัฒนาระดับ สพท. ควรให้ความสำคัญกับงานลูกเสือ • ควรมีนโยบายประชาสัมพันธ์และให้ความสำคัญกับงานลูกเสือ เช่น การแต่งเครื่องแบบโดยพร้อมเพรียง, การประชาสัมพันธ์กิจกรรม

  4. ข้อเสนอแนะ/แนวทางการแก้ไขปัญหา(ต่อ)ข้อเสนอแนะ/แนวทางการแก้ไขปัญหา(ต่อ) • บุคลากร • ผู้บริหารควรมีวุฒิทางลูกเสือไม่ต่ำกว่า ATC • ครูควรมีวุฒิทางลูกเสือและมีตำแหน่งทางลูกเสือในโรงเรียน • หน่วยงานควรมีบุคลากรที่มีความรู้และประสบการณ์ด้านลูกเสือ • หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีแผนพัฒนาผบ.ลส.ให้มีวุฒิที่สูงขึ้น พัฒนาวิชาเฉพาะ • ควรมีบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านลูกเสือดูแลให้คำปรึกษาระดับ สพฐ. สพท.และสถานศึกษา

  5. ข้อเสนอแนะ/แนวทางการแก้ไขปัญหา(ต่อ)ข้อเสนอแนะ/แนวทางการแก้ไขปัญหา(ต่อ) • งบประมาณ 1. รัฐควรจัดสรรงบประมาณให้มากขึ้น 2. ระดมทรัพยากรจากท้องถิ่นและหน่วยงานอื่น • การมีส่วนร่วม 1. จัดตั้งเครือข่ายให้ทุกภาคส่วนได้เข้ามามีส่วนร่วม 2. จัดตั้งเครือข่ายเฉพาะด้าน เช่น เครือข่ายวิทยากร เครือข่ายค่าย • ค่ายลูกเสือ 1. ควรมีค่ายลูกเสืออย่างน้อยเขตตรวจละ 1 ค่าย 2. ค่ายลูกเสือจังหวัดที่มีอยู่ควรโอนให้สำนักงานลูกเสือแห่งชาติดูแล 3. เปิดโอกาสให้เอกชนหรือหน่วยงานอื่นเข้ามาช่วยดูแลค่ายลูกเสือ

  6. แนวทางการดำเนินงาน/โครงการแนวทางการดำเนินงาน/โครงการ • ปีงบประมาณ 2553 • เร่งออกกฏ ระเบียบ ข้อบังคับตามพรบ.ลูกเสือ พ.ศ.2551 • จัดมหกรรมลูกเสือระดับภูมิภาค • ออกแบบโปรแกรมการจัดเก็บข้อมูลด้านลูกเสือเพื่อเป็นแนวเดียวกัน • พัฒนาบุคลากรทุกระดับให้มีวุฒิและประสบการณ์โดยใช้วิธีหลากลาย • จัดกิจกรรมชุมนุม ชุมนุมผู้บริหารลูกเสือ, ชุมนุมลูกเสือ, ชุมนุมผบ.ลส.,ชุมนุมเครือข่ายลูกเสือ

  7. แนวทางการดำเนินงาน/โครงการแนวทางการดำเนินงาน/โครงการ • ปีงบประมาณ 2553 • สร้างขวัญกำลังใจให้กับบุคลากรที่ปฏิบัติงานลูกเสือให้มากขึ้น • กำหนดนโยบายให้ผู้บริหารระดับ สพท.โดยเฉพาะรองผอ.สพท.และผอ.กลุ่มงานมีวุฒิทางลูกเสือ เพื่อให้เห็นความสำคัญของงานลูกเสือ • กำหนดแผนในการพัฒนาบุคลากรให้กับผู้บริหารให้ชัดเจน

  8. แนวทางการดำเนินงาน/โครงการแนวทางการดำเนินงาน/โครงการ • ปีงบประมาณ 2554 • กิจกรรมควรมีความโดดเด่นเหมาะสมกับโอกาสครบรอบ 100 ปีการลูกเสือไทย • ควรมีโครงการพิเศษด้านการอบรมพัฒนาบุคลากรด้านลูกเสือ เช่นอบรมลูกเสือเพื่อเฉลิมพระเกียรติ • สพฐ ควรจัดอบรม พัฒนากรรมการลูกเสือเขตพื้นที่ระดับประเทศ • ยกย่องผู้บังคับบัญชาลูกเสือเช่นผู้บังคับบัญชาลูกเสือดีในดวงใจ • จัดให้มีสโมสร สมาคมลูกเสือให้ครบทุกจังหวัด

  9. ข้อเสนอแนะให้สพฐ • ลดขั้นตอนการดำเนินงานด้านการจัดกิจกรรมลูกเสือ เช่น การอนุญาตเดินทางไกลเข้าค่ายพักแรม • ควรกระจายอำนาจการบริหารจัดการด้านลูกเสือ เช่น การลงนามอนุญาตในการจัดกิจกรรมต่าง ๆ • สนับสนุนงบประมาณด้านลูกเสือให้มากขึ้น • กำหนดกิจกรรมลูกเสือไว้ในหลักสูตร

  10. ขอบคุณคณะทำงานภาคกลางและภาคตะวันออกขอบคุณคณะทำงานภาคกลางและภาคตะวันออก

More Related